Author: Sombat Sriwanngarm

ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ในโอกาสเข้ารับรางวัลนิสิตเก่าดีเด่น

8​ เมษายน​ 2564ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในโอกาสเข้ารับรางวัลนิสิตเก่าดีเด่นคณะเกษตร ในฐานะบุคคลที่มีความดีเด่นทางการเกษตร ประจำปี พ.ศ. 2563 ประเภทนักวิชาการ/นักวิจัย จากคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8​ April​ 2021Congratulations to Assoc. Prof. Dr. Kanchit Thammasiri​​ from the Department of…

นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 วิชา SCPL311 Plant Physiology เข้าชมโรงงานผลิตพืชที่ สวทช.

เมื่อวันจันทร์ที่ 29 มีนาคม 2564 ปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 วิชา SCPL311 Plant Physiology เข้าชมโรงงานผลิตพืชที่ สวทช และได้ฟังการสอนพิเศษจาก ดร. เกรียงไกร โมสาลียานนท์ ในเรื่อง Photosynthesis characters in plant factory condition ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3795834170454089

การถ่ายทอดพันธุกรรมข้ามจากพืชสู่สัตว์

การถ่ายทอดพันธุกรรมข้ามจากพืชสู่สัตว์ทราบกันมานานแล้วว่าสิ่งมีชีวิตอาจได้รับถ่ายทอดยีนจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น​ นอกเหนือจากการได้รับจากพ่อแม่ตามปกติ​ แต่ครั้งนี้เป็นหลักฐานแรกที่นักวิจัยพบยีนของพืชในแมลงสันนิษฐานว่า​ ยีนนี้ช่วยกำจัดพิษของพืชที่แมลงกินเข้าไป​ และหากสามารถกำจัดยีนนี้ออกไปจากแมลงด้วยวิธีทางพันธุวิศวกรรม​ อาจเป็นแนวทางใหม่ในพัฒนาวิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นอ่านสรุปงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร​ Cell​ ได้ที่ https://www.nature.com/articles/d41586-021-00782-w#Horizontal_gene_transfer ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3784652004905639

พบกับพี่มิ้ม​ บัณฑิตสาขาพฤกษศาสตร์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์

#นักชีววิทยาโมเลกุล #จบไปทำอะไร #นักวิจัย #plantscience#mahidol #botany #พฤกษศาสตร์ #มหิดล #TCAS #masterdegree ที่มา: https://fb.watch/4_fTtX_PIs/

พบกับพี่อุ๋มอิ๋ม​ บัณฑิตปริญญาโท​ สาขาวิชา​ วิทยาการพืช​ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​

#นักชีววิทยาโมเลกุล #จบไปทำอะไร #นักวิจัย #plantscience#mahidol #botany #พฤกษศาสตร์ #มหิดล #TCAS #masterdegree ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3792743547429818

พบกับพี่ใบเตย​ ศิษย์เก่าปริญญาโท​ สาขาวิชา​ วิทยาการพืช​ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​

#พฤกษศาสตร์พื้นบ้านมารู้จักอีกสาขาหนึ่งของวิชาพฤกษศาสตร์​ที่น่าจะถูกใจ​ ใครที่ชอบวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพืช​ และในขณะเดียวกัน​ ก็สนใจ​ ภาษา​ วัฒนธรรม​ รวมทั้งการแบกเป้เร่ร่อนพบปะพูดคุยกับคนในท้องถิ่น​ เรียนรู้บริบทความหลากหลายของภูมิปัญญาที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างแยกไม่ได้ ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3782405158463657

พบกับพี่เน็ต​ นักศึกษาระดับปริญญาโท​ สาขาวิชา​ วิทยาการพืช​ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​

#ชีวโมเลกุลพืช ชอบพืชแต่ไม่ชอบตากแดด​ จับดิน หยิบหนอน​ มาทางนี้เลย รู้จักงาน​ #plant_molecular_biology กับงานวิจัยยีนในยางพารา​ ที่ช่วยเพิ่มผลผลิต​น้ำยาง และลดผลกระทบจากโรคทางพันธุกรรม พบกับพี่เน็ต​ นักศึกษาระดับปริญญาโท​ สาขาวิชา​ #วิทยาการพืช​ #หลักสูตรนานาชาติ #ภาควิชาพฤกษศาสตร์​ ที่ใช้ชีวิตวันๆ​ อยู่ในห้องแล็บแอร์เย็น​ มี​ wifi​ และมี​ paper​ ดีๆ​ ให้​ download​ มาอ่านได้ฟรี​ ตลอด​ 24​ ชั่วโมง​ 😁🥰…

ดูงานที่ National Biobank of Thailand (NBT) สวทช

อาจารย์ ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พานักศึกษาชั้นปี 2 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ศึกษาดูงานที่ National Biobank of Thailand (NBT) สวทช.

“ดอกดินทยา” Kaempferia jenjittikuliae Noppornch.

ที่มา: https://www.facebook.com/133101993394010/posts/3767508703286636/“ดอกดินทยา”Kaempferia jenjittikuliae Noppornch.นายณัฐพล นพพรเจริญกุล นักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับนักวิจัยจากสถาบันต่างๆ ตีพิมพ์พืชสกุลเปราะหอมชนิดใหม่ของโลกตั้งชื่อพืชชนิดนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่ ผศ.ดร. ทยา เจนจิตติกุล ผู้เชี่ยวชาญพืชสกุลเปราะหอม (Kaempferia) ในประเทศไทย“The specific epithet, jenjittikuliae, is designated in honour of Dr. Thaya Jenjittikul, a ginger…

Plantlet Regeneration and Multiple Shoot Induction from Protocorm-Like Bodies (PLBs) of Medicinal Orchid Species, Dendrobium crumenatum Sw.

รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ได้ร่วมศึกษาการขยายพันธุ์กล้วยไม้หวานตะมอย (Dendrobium crumenatum Sw.) ซึ่งเป็นกล้วยไม้ใช้ทำสมุนไพร ให้เกิดหลายยอดจากโปรโตคอร์มไลค์บอดี้ โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธา เกลาฉีด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัฒน์ ฤทธิรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จังหวัดนครศรีธรรมราช รายละเอียดตามเรื่องย่อและเรื่องเต็มที่เผยแพร่ใน Walailak Journal of Science & Technology Volumn…