Author: Dr.Saroj Ruchisansakun

Scholarship in Plant Evolution in Mahidol

รับสมัครนักศึกษาผู้คลั่งไคล้ใน Plant Evolutionเรียนต่อ PhD in Botany มหาวิทยาลัยมหิดลSupervisor: ผศ.ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ทุนการศึกษา-15,000 บาท/เดือน-ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการศึกษาตามจริง 120,000 บาท/ปี-ระยะเวลา 3 ปี-สมัครเรียน มิ.ย. 65 เริ่มเรียน ส.ค. 65 ผลงานที่ต้องได้Review Article (Q1)Research Article (Q1) ส่ง1. CV2. หัวข้อวิจัยที่สนใจ Review (Eng)…

ทีม GreenCover สนามหญ้ารักษ์โลก ได้เข้าร่วมการประกวดนวัตกรรมในงาน IDE Competition 2022

ทีม GreenCover สนามหญ้ารักษ์โลก ลดการตัด/ให้น้ำ/ใส่ปุ๋ย โดยเรามีพืชหลากหลายชนิดที่จะตอบโจทย์ความต้องการที่ต่างกันของลูกค้า นอกจากจะดีต่อเราแล้วยังดีต่อระบบนิเวศน์อีกด้วย ในเรื่องของความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งทีมของเราประกอบไปด้วย น.ส.พรหมพร นุ่มเออ และน.ส.พชรวรรณ สอนโยธา นักศึกษาภาควิชาพฤกษศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล และนายพงศธร โรจนพรพันธุ์ จากวิทยาลัยผู้ประกอบการ มหาวิยาลัยหอการค้าไทย ซึ่งได้เข้าร่วมการประกวดนวัตกรรมในงาน IDE Competition 2022 ที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ในวันเสาร์ที่ 26 มีนาคม 2565ติดต่อปรึกษาทีมนี้ได้ที่ https://www.facebook.com/GreenCoverTH

ทีม Colourganic ได้รับรางวัล Finalist ในงาน IDE Competition 2022

ขอแสดงความยินดีกับทีม Colourganic นวัตกรรมการย้อมผมจากต้นเทียนกิ่ง โดยทีมนำความรู้ทางด้านสมุนไพรมาผสมกับเทคโนโลยี polymer hair dye แทนการใช้สารเคมีที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ ซึ่งทีมประกอบไปด้วยน.ส. กชกร ผ่องใส นักศึกษาภาควิชาพฤกษศาสตร์ น.ส. ชรนันท์ บวรพงษ์สกุล นักศึกษาภาควิชาเคมีจากมหาวิทยาลัยมหิดล และน.ส. ปิยะมล อินทรพาณิชย์ นักศึกษาภาควิชาบัญชีจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้รับรางวัล Finalist จากการประกวดนวัตกรรม ในงาน IDE Competition 2022 ที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ในวันเสาร์ที่ 26…

อ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ได้รับทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ปี 2564

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ขอแสดงความยินดีกับ อ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ที่ได้รับทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ปี 2564

การขยายพันธุ์ต้นกะเพราหินปูน (Coleus albicalyx (Suddee) Suddee) พืชหายากของประเทศไทยในหลอดทดลอง

นักศึกษา นักวิทยาศาสตร์ และอาจารย์ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง “การขยายพันธุ์ต้นกะเพราหินปูน (Coleus albicalyx (Suddee) Suddee) พืชหายากของประเทศไทยในหลอดทดลอง” ใน วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 26 (ฉบับที่ 3) กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2564 หน้าที่ 1707 – 1725 ต้นกะเพราหินปูนเป็นพืชที่กระจายพันธุ์ในบริเวณภูเขาหินปูน โดยพบการกระจายพันธุ์ในจังหวัดกาญจนบุรี สระบุรี…

ชีววิทยาการถ่ายเรณูและชีววิทยาดอกในพู่ม่วงสยาม (Argyreia siamensis)พืชหายากถิ่นเดียวในประเทศไทย

น.ส. อวภาส์ จิรบรรจงจิต นักศึกษาปริญญาโท ร่วมกับ รศ. ดร. ปวีณา ไตรเพิ่ม, ผศ. ดร. อลิสา สจว๊ต และ ดร. โทโมกิ ซานโด ร่วมกันตีพิมพ์งานวิจัย ชีววิทยาการถ่ายเรณูและชีววิทยาดอกในพู่ม่วงสยาม (Argyreia siamensis)พืชหายากถิ่นเดียวในประเทศไทย Pollination and Floral Biology of a Rare Morning Glory…

แข่งขันตอบคำถาม “ต้นนี้ ชื่ออะไร”

ภาควิชา #พฤกษศาสตร์#คณะวิทยาศาสตร์#มหาวิทยาลัยมหิดลขอเชิญน้อง ๆ ระดับ #มัธยมศึกษาตอนปลายเข้าร่วมกิจกรรม #แข่งขันตอบคำถาม วิชาการ“ต้นนี้ ชื่ออะไร”60 คำถาม 60 ภาพ 4 ตัวเลือก 1 นาทีรอบที่ 1 –> 20 ภาพ 20 ชื่อวงศ์ รอบที่ 2 -​-> 20 ภาพ 20 ชื่อไทยรอบที่ 3​ -​->…

OPEN HOUSE ภาควิชาพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

Live สดสองรอบ 10.00-12.00 / 13.30-14.20 ทาง https://mahidol.webex.com/mahidol-en/j.php?MTID=m87431a3f0aa44651ee27684be761f5ab ภาควิชาพฤกษศาสตร์ มหิดล รับสมัคร นักศึกษา ตรี โท เอก – ป. ตรี สาขาพฤกษศาสตร์ •TCAS1 2 3 https://tcas.mahidol.ac.th – ป.โท สาขาวิทยาการพืช (หลักสูตรนานาชาติ) – ป.เอก สาขาพฤกษศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)…

การพัฒนาไมโครอาร์เรย์ชิพสำหรับตรวจสอบความไวต่อสารก่อภูมิแพ้ในเรณูหญ้าและวัชพืชเขตร้อน

Mahidol University – #Reinventing_Universityขอแสดงความยินดี กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิษุวัต สงนวล ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ในโอกาสที่เป็น 1 ใน 3 นักวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนในโครงการ”การพัฒนาไมโครอาร์เรย์ชิพสำหรับตรวจสอบความไวต่อสารก่อภูมิแพ้ในเรณูหญ้าและวัชพืชเขตร้อน”จากโครงการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมเครื่องมือแพทย์ (#Medical_Devices) ของไทยเพื่อความยั่งยืนและการแข่งขันในระดับนานาชาติ ภายใต้การดำเนินงานโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University System) ของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยการสนับสนุนของ สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)#Wisuwat_Songnuan#Microarray#Allergent#pollen#Tropical_weeds