ศึกษาดูงานสวนพฤกษศาสตร์ & Flora Exhibition Hall & กิจกรรมเก็บขยะที่หาดแสงจันทร์ & ศูนย์การเรียนรู้ป่าชายเลน จ.ระยอง
การศึกษาดูงาน (Study trip) คือ การศึกษานอกสถานที่รูปแบบหนึ่งเพื่อการเรียนรู้ และแสวงหาประสบการณ์ใหม่ๆที่คาดหวังว่าจะสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในองค์กร หน่วยงาน หรือปรับปรุงกระบวนการทำงานในบทบาทหน้าที่สำคัญของแต่ละบุคคล ทั้งปัจจัยความสำเร็จและปัญหาอุปสรรค/ข้อควรระวังที่จะได้เรียนรู้จากองค์กรที่ไปศึกษาดูงานทั้งยังเป็นการเปลี่ยนบรรยากาศโดยการไปพบเห็นสิ่งใหม่ซึ่งสามารถเสริมสร้างแนวคิดใหม่ และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น จึงเป็นกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการพัฒนาบุคลากรที่จะช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ให้กับบุคลากร และนักศึกษา อีกทั้งเป็นการเปิดมุมมองที่จะรับการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ สร้างความพร้อมให้แก่ทั้งตัวบุคลากรเอง และสร้างผลสัมฤทธิ์ให้แก่ทีมงาน/หน่วยงาน และองค์กร ทั้งนี้ก็เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ผู้ที่ไปศึกษาดูงานต้องใช้ทักษะการสอบถาม การสังเกต และแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติงานและการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานจากสถาบันที่ไปศึกษาดูงาน ในการนี้ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จึงได้จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ศึกษาดูงานยังองค์กรต่างๆ เพื่อให้มีความรู้ เกิดประสบการณ์ ระหว่างวันที่…
🌳Special Seminar in Plant Science🌿 “Flora of Thailand” by Prof. Henrik Balslev
บันทึก VDO🌳Special Seminar in Plant Science🌿“Flora of Thailand”by Prof. Henrik BalslevDepartment of Biology, Aarhus University, Denmarkat Room K102, Chaloemphrakiat Bldg., Faculty of Science, Mahidol University Phayathai, Bangkok
นักศึกษาชั้นปีที่ 2 มาดูงานที่พิพิธภัณฑ์พระราม 9
ผศ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล พานักศึกษาชั้นปีที่ 2 มาดูงานที่พิพิธภัณฑ์พระราม 9 โดยมี ดร.ณัฐพล นพพรเจริญกุล ศิษย์เก่าของภาควิชา มาเป็นวิทยากร ผศ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล พานักศึกษาชั้นปีที่ 2 มาดูงานที่พิพิธภัณฑ์พระราม 9 โดยมี ดร.ณัฐพล นพพรเจริญกุล ศิษย์เก่าของภาควิชา มาเป็นวิทยากร
ผศ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล และผู้ร่วมวิจัยชาวพม่า Dakaw Phong San รายงานพืช new record ในพม่า Impatiens latiflora Hook.f. & Thomson
ผศ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ร่วมกับผู้ร่วมวิจัยชาวพม่า Dakaw Phong San รายงานพืช new record ในพม่า Impatiens latiflora Hook.f. & Thomson ซึ่งก่อนหน้านี้มีรายงานการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภูฐานถึงอินเดีย โดยพืชชนิดดังกล่าวมีลักษณะแตกต่างจากพืชสกุลเทียนชนิดอื่นในพม่าโดยการที่มีกลีบดอกระนาบแบนสีชมพูดคล้านเทียนกลุ่มเทียนดอย Impatiens violiflora Hook.f. แต่มีการออกดอกเป็นช่อยาว มีดอก 2-6 ดอก ต้นสูงได้ถึง 60 ซม. พืชดังกล่าวมีการกระจายพันธุ์กว้างและพบจำนวนมากอยู่ ทำให้มีความเสี่ยงสูญพันธุ์น้อยที่สุด…
อนุกรมวิธานของพืชสกุลตีนฮุ้งดอยในประเทศไทยและตีนฮุ้งดอยชนิดใหม่ตีนฮุ้งดอยสยาม Paris siamensis
งานวิจัยออกใหม่เรื่อง “อนุกรมวิธานของพืชสกุลตีนฮุ้งดอยในประเทศไทยและตีนฮุ้งดอยชนิดใหม่ตีนฮุ้งดอยสยาม Paris siamensis” Revision on the Genus Paris in Thailand, with a New Species Paris siamensis ตีนฮุ้งดอยเป็นพืชที่กระจายอยู่แถบภาคเหนือของไทย โดยในช่วงหลังๆมานี้ถูกเก็บจากธรรมชาติเพื่อส่งออกไปจีนเป็นจำนวนมาก ก่อนหน้านี้พืชสกุลตีนฮุ้งดอย Paris ในประเทศไทยถูกเรียนด้วยชื่อต่างๆกัน ทั้ง P. polyphylla, P. chinensis, และ P. polyphylla…
เชิญติดตามชมย้อนหลัง “เที่ยวทั่วไทยไปกับเปราะ”
เชิญติดตามชมย้อนหลัง “เที่ยวทั่วไทยไปกับเปราะ” โดยจอมยุทธ์สำนักหมื่นบุปผา นำโดยเจ้าสำนัก อาจารย์ทยา ศิษย์เอก อาจารย์สาโรจน์ และศิษย์ดาวรุ่ง บูม
ผลการแข่งขัน ตอบคำถามทางวิชาการ “ต้นนี้ ชื่ออะไร ครั้งที่ 2” ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สืบเนื่องจากวันที่ 21 มกราคม 2566 ที่ผ่านมา ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย ผศ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรสกุล ผู้ดำเนินการ จัดให้มีกิจกรรมแข่งขันตอบคำถามทางวิชาการ “ต้นนี้ ชื่ออะไร ครั้งที่ 2” ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยร่วมกิจกรรมทางออนไลน์ผ่าน Webex และ ลิงค์ Kahoot ผู้ร่วมการแข่งขันจะต้องยืนยันตัวตน และต้องตอบ 60 คำถามจาก 60 ภาพที่มี…
ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา ไตรเพิ่ม ในโอกาสได้รับรางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565
ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา ไตรเพิ่ม ในโอกาสได้รับ #รางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 ประเภท ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาและผู้ปฏิบัติงานด้านการศึกษา กลุ่มครูและคณาจารย์ ระดับจังหวัด