Author: Sombat Sriwanngarm

พบกับพี่มิ้ม​ บัณฑิตสาขาพฤกษศาสตร์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์

#นักชีววิทยาโมเลกุล #จบไปทำอะไร #นักวิจัย #plantscience#mahidol #botany #พฤกษศาสตร์ #มหิดล #TCAS #masterdegree ที่มา: https://fb.watch/4_fTtX_PIs/

พบกับพี่อุ๋มอิ๋ม​ บัณฑิตปริญญาโท​ สาขาวิชา​ วิทยาการพืช​ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​

#นักชีววิทยาโมเลกุล #จบไปทำอะไร #นักวิจัย #plantscience#mahidol #botany #พฤกษศาสตร์ #มหิดล #TCAS #masterdegree ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3792743547429818

พบกับพี่ใบเตย​ ศิษย์เก่าปริญญาโท​ สาขาวิชา​ วิทยาการพืช​ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​

#พฤกษศาสตร์พื้นบ้านมารู้จักอีกสาขาหนึ่งของวิชาพฤกษศาสตร์​ที่น่าจะถูกใจ​ ใครที่ชอบวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพืช​ และในขณะเดียวกัน​ ก็สนใจ​ ภาษา​ วัฒนธรรม​ รวมทั้งการแบกเป้เร่ร่อนพบปะพูดคุยกับคนในท้องถิ่น​ เรียนรู้บริบทความหลากหลายของภูมิปัญญาที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างแยกไม่ได้ ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3782405158463657

พบกับพี่เน็ต​ นักศึกษาระดับปริญญาโท​ สาขาวิชา​ วิทยาการพืช​ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​

#ชีวโมเลกุลพืช ชอบพืชแต่ไม่ชอบตากแดด​ จับดิน หยิบหนอน​ มาทางนี้เลย รู้จักงาน​ #plant_molecular_biology กับงานวิจัยยีนในยางพารา​ ที่ช่วยเพิ่มผลผลิต​น้ำยาง และลดผลกระทบจากโรคทางพันธุกรรม พบกับพี่เน็ต​ นักศึกษาระดับปริญญาโท​ สาขาวิชา​ #วิทยาการพืช​ #หลักสูตรนานาชาติ #ภาควิชาพฤกษศาสตร์​ ที่ใช้ชีวิตวันๆ​ อยู่ในห้องแล็บแอร์เย็น​ มี​ wifi​ และมี​ paper​ ดีๆ​ ให้​ download​ มาอ่านได้ฟรี​ ตลอด​ 24​ ชั่วโมง​ 😁🥰…

ดูงานที่ National Biobank of Thailand (NBT) สวทช

อาจารย์ ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พานักศึกษาชั้นปี 2 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ศึกษาดูงานที่ National Biobank of Thailand (NBT) สวทช.

“ดอกดินทยา” Kaempferia jenjittikuliae Noppornch.

ที่มา: https://www.facebook.com/133101993394010/posts/3767508703286636/“ดอกดินทยา”Kaempferia jenjittikuliae Noppornch.นายณัฐพล นพพรเจริญกุล นักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับนักวิจัยจากสถาบันต่างๆ ตีพิมพ์พืชสกุลเปราะหอมชนิดใหม่ของโลกตั้งชื่อพืชชนิดนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่ ผศ.ดร. ทยา เจนจิตติกุล ผู้เชี่ยวชาญพืชสกุลเปราะหอม (Kaempferia) ในประเทศไทย“The specific epithet, jenjittikuliae, is designated in honour of Dr. Thaya Jenjittikul, a ginger…

Plantlet Regeneration and Multiple Shoot Induction from Protocorm-Like Bodies (PLBs) of Medicinal Orchid Species, Dendrobium crumenatum Sw.

รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ได้ร่วมศึกษาการขยายพันธุ์กล้วยไม้หวานตะมอย (Dendrobium crumenatum Sw.) ซึ่งเป็นกล้วยไม้ใช้ทำสมุนไพร ให้เกิดหลายยอดจากโปรโตคอร์มไลค์บอดี้ โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธา เกลาฉีด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัฒน์ ฤทธิรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จังหวัดนครศรีธรรมราช รายละเอียดตามเรื่องย่อและเรื่องเต็มที่เผยแพร่ใน Walailak Journal of Science & Technology Volumn…

การอบรมหลักสูตรรุกขกรปฏิบัติการ​ 80​ ชั่วโมง

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3732907233413450 วันที่​ 5​ มีนาคม​ 2564​นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากภาควิชาพฤกษศาสตร์​ ที่เข้าร่วมการอบรมหลักสูตรรุกขกรปฏิบัติการ​ 80​ ชั่วโมง​ ได้รับวุฒิบัตรสำเร็จการอบรมจากคณะวิทยา​ศาสตร์​ มหา​วิทยาลัย​มหิดล​ และกรมป่าไม้​ โดยนศ.ระดับปริญญาโท​ นายภูมิพัฒน์ ศรีสมบัติ​ ได้คะแนนระดับดี​ นศ.ระดับปริญญาเอก​ คือนายพงศกร​ โกฉัยพัฒน์​ ทำคะแนนสอบภาคปฏิบัติได้สูงสุด​ และ​ น.ส.วันดี​ อินตะ​ ซึ่งเป็นผู้หญิงคนเดียว​ ทำคะแนนได้ในระดับดีเด่น ในวันเดียวกันนั้น​ คณบดี​ และผู้แทนอธิบดีกรมป่าไม้​ ดร.​คงศักดิ์​ มีแก้ว​…

ตัวอย่างพืชที่เก็บรวบรวมตลอดระยะเวลากว่า 300 ปี

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3725025724201601 พรรณไม้ที่ไม่มีวันโรยรา – ตัวอย่างพืชที่เก็บรวบรวมตลอดระยะเวลากว่า 300 ปีได้รับการเก็บรักษาอย่างดีที่พิพิธภัณฑ์พืชแห่งหนึ่งในกรุงลอนดอน.ณ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ตัวอย่างพืชจากทั่วโลกถูกเก็บรวบรวมถนอมรักษา และตอนนี้ก็ได้รับการบันทึกภาพเอาไว้.พิพิธภัณฑ์พืช (herbarium) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาในกรุงลอนดอนคือแหล่งสะสมตัวอย่างพืชมากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก

Top 5 กลุ่มพืชใกล้ตัวสาเหตุภูมิแพ้เรณูในประเทศไทย

คัน จาม คัดจมูก น้ำมูกไหล อาการประจำที่มักจะมาเยือนเหล่าคนทีเป็นภูมิแพ้ เมื่อไปสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้เข้าให้ สารก่อภูมิแพ้กนั้นมีมากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น ไรฝุ่น ชิ้นส่วนหรือสิ่งขับถ่ายของแมลงในบ้าน เช่น แมลงสาบ ขนและรังแคสัตว์ เชื้อรา กลิ่น ควัน ฝุ่นละออง การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของอุณหภูมิ ไปจนถึงเรณูของดอกไม้ หญ้า หรือวัชพืชต่าง ๆ ซึ่งนอกจากไรฝุ่นที่ครองแชมป์ตัวการก่อภูมิแพ้แล้ว น่าสนใจว่า ในประเทศไทยมีข้อมูลรายงานพบผู้ที่เกิดอาการภูมิแพ้จากเรณูพืชจำนวนไม่น้อยเลยทีเดียว………………………………..ฟัง​ podcast​ โดย​ ผศ.​ ดร.วิษุวัต​ สงนวล​…