Author: Sombat Sriwanngarm

การขยายพันธุ์ทุเรียนพื้นบ้านด้วยการปักชำ

โดยทั่วไปเกษตรกรขยายพันธุ์ “ทุเรียนพันธุ์” อร่อยๆ​ ด้วยการเสียบยอดบนต้นกล้าทุเรียนพื้นบ้าน แต่มันง่ายไป! เชื่อหรือไม่ว่า​ “#ทุเรียนพื้นบ้าน” ต้นอร่อย มีอยู่เพียงต้นเดียวเท่านั้น​ เพราะแต่ละต้นมาจากเมล็ดที่ได้จากการผสมข้ามต้นโดยค้างคาว ทุเรียนพื้นบ้านต้นสูง​ อายุหลายสิบปีจนถึง​ 200​ ปีก็มี! ขยายพันธุ์ทุเรียนเด็กๆ​ เสียบยอดไม่กี่วันก็ติดดี​ แตกใบสวยงาม​ เอาไปลงปลูกได้ แต่ทำยังไงจะอนุรักษ์และขยายพันธุ์ทุเรียนพื้นบ้าน​ ต้นแก่วัยชรา มาคุยเรื่อง​ #การขยายพันธุ์ทุเรียนพื้นบ้านด้วยการปักชำโดยตรง​ กับ​ ผศ.​ ดร.#อุษณีษ์_พิชกรรม​ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์​ คณะวิทยาศาสตร์​ มหา​วิทยาลัย​มหิดล ที่มา: https://www.facebook.com/kasetkaoklai/videos/297516878394567/

การค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลกในกลุ่ม หนาวเดือนห้า (Erycibe) 3 ชนิด จากประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย

นายพงศกร โกฉัยพัฒน์ นักศึกษาระดับปริญญาเอก และ รศ.ดร. ปวีณา ไตรเพิ่ม ร่วมกับ Dr. Timothy M.A. Utteridge จากสวนพฤกษศาสตร์ Kew ประเทศอังกฤษ ร่วมกันตีพิมพ์การค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลกในกลุ่ม หนาวเดือนห้า (Erycibe) 3 ชนิด จากประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3823495734354599

ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ในโอกาสเข้ารับรางวัลนิสิตเก่าดีเด่น

8​ เมษายน​ 2564ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในโอกาสเข้ารับรางวัลนิสิตเก่าดีเด่นคณะเกษตร ในฐานะบุคคลที่มีความดีเด่นทางการเกษตร ประจำปี พ.ศ. 2563 ประเภทนักวิชาการ/นักวิจัย จากคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8​ April​ 2021Congratulations to Assoc. Prof. Dr. Kanchit Thammasiri​​ from the Department of…

นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 วิชา SCPL311 Plant Physiology เข้าชมโรงงานผลิตพืชที่ สวทช.

เมื่อวันจันทร์ที่ 29 มีนาคม 2564 ปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 วิชา SCPL311 Plant Physiology เข้าชมโรงงานผลิตพืชที่ สวทช และได้ฟังการสอนพิเศษจาก ดร. เกรียงไกร โมสาลียานนท์ ในเรื่อง Photosynthesis characters in plant factory condition ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3795834170454089

การถ่ายทอดพันธุกรรมข้ามจากพืชสู่สัตว์

การถ่ายทอดพันธุกรรมข้ามจากพืชสู่สัตว์ทราบกันมานานแล้วว่าสิ่งมีชีวิตอาจได้รับถ่ายทอดยีนจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น​ นอกเหนือจากการได้รับจากพ่อแม่ตามปกติ​ แต่ครั้งนี้เป็นหลักฐานแรกที่นักวิจัยพบยีนของพืชในแมลงสันนิษฐานว่า​ ยีนนี้ช่วยกำจัดพิษของพืชที่แมลงกินเข้าไป​ และหากสามารถกำจัดยีนนี้ออกไปจากแมลงด้วยวิธีทางพันธุวิศวกรรม​ อาจเป็นแนวทางใหม่ในพัฒนาวิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นอ่านสรุปงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร​ Cell​ ได้ที่ https://www.nature.com/articles/d41586-021-00782-w#Horizontal_gene_transfer ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3784652004905639

พบกับพี่มิ้ม​ บัณฑิตสาขาพฤกษศาสตร์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์

#นักชีววิทยาโมเลกุล #จบไปทำอะไร #นักวิจัย #plantscience#mahidol #botany #พฤกษศาสตร์ #มหิดล #TCAS #masterdegree ที่มา: https://fb.watch/4_fTtX_PIs/

พบกับพี่อุ๋มอิ๋ม​ บัณฑิตปริญญาโท​ สาขาวิชา​ วิทยาการพืช​ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​

#นักชีววิทยาโมเลกุล #จบไปทำอะไร #นักวิจัย #plantscience#mahidol #botany #พฤกษศาสตร์ #มหิดล #TCAS #masterdegree ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3792743547429818

พบกับพี่ใบเตย​ ศิษย์เก่าปริญญาโท​ สาขาวิชา​ วิทยาการพืช​ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​

#พฤกษศาสตร์พื้นบ้านมารู้จักอีกสาขาหนึ่งของวิชาพฤกษศาสตร์​ที่น่าจะถูกใจ​ ใครที่ชอบวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพืช​ และในขณะเดียวกัน​ ก็สนใจ​ ภาษา​ วัฒนธรรม​ รวมทั้งการแบกเป้เร่ร่อนพบปะพูดคุยกับคนในท้องถิ่น​ เรียนรู้บริบทความหลากหลายของภูมิปัญญาที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างแยกไม่ได้ ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3782405158463657

พบกับพี่เน็ต​ นักศึกษาระดับปริญญาโท​ สาขาวิชา​ วิทยาการพืช​ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​

#ชีวโมเลกุลพืช ชอบพืชแต่ไม่ชอบตากแดด​ จับดิน หยิบหนอน​ มาทางนี้เลย รู้จักงาน​ #plant_molecular_biology กับงานวิจัยยีนในยางพารา​ ที่ช่วยเพิ่มผลผลิต​น้ำยาง และลดผลกระทบจากโรคทางพันธุกรรม พบกับพี่เน็ต​ นักศึกษาระดับปริญญาโท​ สาขาวิชา​ #วิทยาการพืช​ #หลักสูตรนานาชาติ #ภาควิชาพฤกษศาสตร์​ ที่ใช้ชีวิตวันๆ​ อยู่ในห้องแล็บแอร์เย็น​ มี​ wifi​ และมี​ paper​ ดีๆ​ ให้​ download​ มาอ่านได้ฟรี​ ตลอด​ 24​ ชั่วโมง​ 😁🥰…