ดูงานที่ National Biobank of Thailand (NBT) สวทช
อาจารย์ ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พานักศึกษาชั้นปี 2 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ศึกษาดูงานที่ National Biobank of Thailand (NBT) สวทช.
Department of Plant Science
อาจารย์ ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พานักศึกษาชั้นปี 2 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ศึกษาดูงานที่ National Biobank of Thailand (NBT) สวทช.
ที่มา: https://www.facebook.com/133101993394010/posts/3767508703286636/“ดอกดินทยา”Kaempferia jenjittikuliae Noppornch.นายณัฐพล นพพรเจริญกุล นักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับนักวิจัยจากสถาบันต่างๆ ตีพิมพ์พืชสกุลเปราะหอมชนิดใหม่ของโลกตั้งชื่อพืชชนิดนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่ ผศ.ดร. ทยา เจนจิตติกุล ผู้เชี่ยวชาญพืชสกุลเปราะหอม (Kaempferia) ในประเทศไทย“The specific epithet, jenjittikuliae, is designated in honour of Dr. Thaya Jenjittikul, a ginger…
รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ได้ร่วมศึกษาการขยายพันธุ์กล้วยไม้หวานตะมอย (Dendrobium crumenatum Sw.) ซึ่งเป็นกล้วยไม้ใช้ทำสมุนไพร ให้เกิดหลายยอดจากโปรโตคอร์มไลค์บอดี้ โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธา เกลาฉีด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัฒน์ ฤทธิรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จังหวัดนครศรีธรรมราช รายละเอียดตามเรื่องย่อและเรื่องเต็มที่เผยแพร่ใน Walailak Journal of Science & Technology Volumn…
ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3732907233413450 วันที่ 5 มีนาคม 2564นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ ที่เข้าร่วมการอบรมหลักสูตรรุกขกรปฏิบัติการ 80 ชั่วโมง ได้รับวุฒิบัตรสำเร็จการอบรมจากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกรมป่าไม้ โดยนศ.ระดับปริญญาโท นายภูมิพัฒน์ ศรีสมบัติ ได้คะแนนระดับดี นศ.ระดับปริญญาเอก คือนายพงศกร โกฉัยพัฒน์ ทำคะแนนสอบภาคปฏิบัติได้สูงสุด และ น.ส.วันดี อินตะ ซึ่งเป็นผู้หญิงคนเดียว ทำคะแนนได้ในระดับดีเด่น ในวันเดียวกันนั้น คณบดี และผู้แทนอธิบดีกรมป่าไม้ ดร.คงศักดิ์ มีแก้ว…
ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3725025724201601 พรรณไม้ที่ไม่มีวันโรยรา – ตัวอย่างพืชที่เก็บรวบรวมตลอดระยะเวลากว่า 300 ปีได้รับการเก็บรักษาอย่างดีที่พิพิธภัณฑ์พืชแห่งหนึ่งในกรุงลอนดอน.ณ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ตัวอย่างพืชจากทั่วโลกถูกเก็บรวบรวมถนอมรักษา และตอนนี้ก็ได้รับการบันทึกภาพเอาไว้.พิพิธภัณฑ์พืช (herbarium) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาในกรุงลอนดอนคือแหล่งสะสมตัวอย่างพืชมากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก
คัน จาม คัดจมูก น้ำมูกไหล อาการประจำที่มักจะมาเยือนเหล่าคนทีเป็นภูมิแพ้ เมื่อไปสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้เข้าให้ สารก่อภูมิแพ้กนั้นมีมากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น ไรฝุ่น ชิ้นส่วนหรือสิ่งขับถ่ายของแมลงในบ้าน เช่น แมลงสาบ ขนและรังแคสัตว์ เชื้อรา กลิ่น ควัน ฝุ่นละออง การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของอุณหภูมิ ไปจนถึงเรณูของดอกไม้ หญ้า หรือวัชพืชต่าง ๆ ซึ่งนอกจากไรฝุ่นที่ครองแชมป์ตัวการก่อภูมิแพ้แล้ว น่าสนใจว่า ในประเทศไทยมีข้อมูลรายงานพบผู้ที่เกิดอาการภูมิแพ้จากเรณูพืชจำนวนไม่น้อยเลยทีเดียว………………………………..ฟัง podcast โดย ผศ. ดร.วิษุวัต สงนวล…
ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3719271831443657 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลโดย วิชา SCPL361 Economic Botanyขอเชิญฟัง Webinar เรื่อง Sprouting Plant_based_Proteins โดย ดร. ณัชชา วงส์ทองดี จาก แอชแลนด์ (ไทยแลนด์) บจก.วันพฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 11.00-12.00 น.ทาง Webex https://mahidol.webex.com/mahidol/j.php………………………………Meeting…
ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3708075969229910 Happy Birthday “หมอคาร์”27 กุมภาพันธ์ 1877 เป็นวันเกิดของ นายแพทย์ Arthur Kerr หรือที่คนไทยเรียกว่า “หมอคาร์” นักพฤกษศาสตร์ผู้มีคุณูปการต่อการศึกษาพรรณพฤกษชาติในประเทศไทย ……………………………………………………………..อ่านเรื่องราวชีวิตทรงคุณค่าของ “หมอคาร์” กับ 30 ปีในประเทศไทย และตัวอย่างพืชหลายหมื่นชิ้นที่เป็นตัวแทนทรัพยากรอันหลากหลายของเมืองไทย ได้ที่ https://readthecloud.co/arthur-kerr-botanist-in-thailand/
ที่มา: http://www.cryoletters.org/Abstracts/vol_42_1_2021.htm#025 รศ. ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ได้ร่วมวิจัยเก็บรักษาก้อนเรณูกล้วยไม้ไทย 10 ชนิดในไนโตรเจนเหลว กับ ผศ. ดร.นิภาวรรณ์ จิตรโสภากุล มหาวิทยาลัยราชมงคลเทคโนโลยีอีสาน BACKGROUND: Preserving pollinia viability and fertility for pollination at specific times of the year is very important…
ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3686635764707264 พี่ชายและพี่สาว จากภาควิชาพฤกษศาสตร์เข้าร่วมการอบรมปีนป่ายตัดแต่งต้นไม้ “การอบรมรุกขกรปฏิบัติการ” จัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับกรมป่าไม้ หลังจากผ่านการอบรมภาคบรรยาย และปฏิบัติการระดับพื้นดินแล้วในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นการอบรมการทำงานรุกขกรตัดแต่งต้นไม้ในที่สูง ซึ่งผู้เข้าอบรมต้องฝึกการตัดแต่งกิ่งไม้อย่างถูกวิธี การเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสม และการปีนขึ้น-ลงจากต้นไม้อย่างปลอดภัย