Category: Uncategorized

ดูงานที่ National Biobank of Thailand (NBT) สวทช

อาจารย์ ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พานักศึกษาชั้นปี 2 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ศึกษาดูงานที่ National Biobank of Thailand (NBT) สวทช.

บรรยากาศงานนิทรรศการภาพวาดพฤกษศาสตร์ “สานพฤกษพรรณผ่านงานพฤกษศิลป์ ครั้งที่ 3”

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3284775688226609 22 กันยายน 2563 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) เครือข่ายวิทย์สานศิลป์ และหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ร่วมจัดงาน นิทรรศการภาพวาดพฤกษศาสตร์ “สานพฤกษพรรณผ่านงานพฤกษศิลป์ ครั้งที่ 3” Botanical Art Thailand 2020 โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิวิมล แสวงผล ประธานการจัดงานกล่าวรายงาน และ อาจารย์พันธุ์ศักดิ์…

“ศรีตรัง​” อดีตเคยใช้เป็นต้นไม้ประจำคณะฯ และมหาวิทยาลัยฯ

ที่มา: www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3074960629208117 #101x1in100PlantScienceStories “ศรีตรัง​” จากแดนไกล​ มีชื่อเป็นต้นไม้ประจำสถานศึกษาหลายแห่ง และยังมีเพลงที่มีชื่อศรีตรังมากมายหลาย​เพลง​หนึ่งในนั้น​ ได้รับเกียรติแต่งทำนองโดย​ครูเอื้อ​ สุนทรสนาน​ และขับร้องโดยคณะสุนทราภรณ์อันลือลั่นในอดีต​ (ลิงค์เพลงในแคปชั่นโน้ตเพลง)​ ศาสตราจารย์สตางค์​ มงคลสุข​ผู้ก่อตั้งคณะวิทยาศาสตร์​ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของมหาวิทยาลัยมหิดล​ ชื่นชอบต้นไม้ชนิดนี้เป็นอย่างยิ่ง​ ทั้งคณะวิทยาศาสตร์​ และมหาวิทยาลัยมหิดล​ จึงเคยใช้ศรีตรังเป็นต้นไม้ประจำคณะฯ​ และมหาวิทยาลัยฯ​ ต่อมาเมื่อศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุข บุกเบิกก่อตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์​ ศรีตรังก็กลายเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยแห่งนั้นด้วย​ ทั้งนี้ต่อมามหาวิทยาลัยมหิดลได้เปลี่ยนไปใช้ต้น​ “กันภัยมหิดล” เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยแทน ศรีตรังเป็นพันธุ์ไม้ท้องถิ่นของทวีปอเมริกากลางถึงอเมริกาใต้​ ชื่อวิทยาศาสตร์​ Jacaranda​…

ปัจฉิมนิเทศออนไลน์ บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาปี 2562(รหัส59)

ปัจฉิมนิเทศ สำหรับบัณฑิตผู้จบการศึกษาปี 2562 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เนื่องด้วยอยู่ช่วงเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของ covid-19 ภาควิชาพฤกษศาสตร์จึงได้จัดงานปัจฉิมนิเทศออนไลน์ผ่านโปรแกรม WebEx สำหรับบัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาปี 2562 ในวันจันทร์ ที่ 13 กรกฎาคม 2563 เวลา 10.00 น.-12.00 น. โดยมีคณาจารย์ภาควิชาฯ ร่วมออนไลน์ ได้พบปะทักทายบัณฑิต ให้บัณฑิตได้กล่าวความรู้สึกต่อภาควิชาฯ และถ่ายภาพร่วมกันผ่านทางออนไลน์

ผลงานของนักศึกษา​หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพได้รับการเสนอชื่อเข้ารับการคัดเลือก​ รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น​ ประจำปี​การศึกษา​ 2563

ผลงานของนักศึกษา​ #หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ​ ที่มีผู้ช่วยศาสตราจารย์​ ดร.อัญชีรา​ วิบูลย์จันทร์​ และผู้ช่วยศาสตราจารย์​ ดร.พนิดา​ คงสวัสดิ์วรกุล​ภาควิชาพฤกษศาสตร์​ คณะวิทยาศาสตร์​ มหาวิทยาลัยมหิดล​เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์​ และผู้เขียนร่วม​ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับการคัดเลือก​ #รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น​ ประจำปี​การศึกษา​ 2562ชมการนำเสนอออนไลน์ได้ในวันที่​ 14​ กรกฎาคม​ 2563​ นี้ Sae-Lim P., Naktang C., Yoocha T., Nirapathpongporn K., Viboonjun U., Kongsawadworakul P.,…

วิจัย “หญ้าไหวทาม” ยามชายฝั่งตรวจน้ำมันรั่ว ช่วยระบบนิเวศ

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3026310754073105ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/886737 นางสาวญาณิศา โอฬารานนท์ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการพืช (หลักสูตรนานาชาติ) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมี รองศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา ไตรเพิ่ม เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดล ให้ศึกษาวิจัย เรื่อง “ผลกระทบของน้ำมันดิบต่อพืชชายฝั่งทะเล” กล่าวเสริมว่า พืชเป็นตัวแปรหนึ่งที่สำคัญต่อระบบนิเวศ โดยพืชชายฝั่งทะเลเปรียบเสมือน “ยามชายฝั่ง” ที่อาจตรวจจับการรั่วไหลของน้ำมันและส่งสัญญาณให้เรารับรู้ได้แม้ว่ามีการปนเปื้อนเพียงเล็กน้อย

ความรู้เรื่องต้นไม้ใบสวยงามในวงศ์บุกบอน (Araceae)​

ขอเชิญ​ subscribe ช่องยูทูปใหม่เป็นกำลังใจให้ศิษย์เก่าพฤกษศาสตร์​ มหิดล​“เจนพจน์​ ข่ายม่าน” Joeojo_Foliage ที่ https://www.youtube.com/channel/UC9MtCXYk56bOW0O6EVkWhEQแนะนำ และให้ความรู้เรื่องต้นไม้ใบสวยงาม ส่วนใหญ่ในวงศ์บุกบอน (Araceae)​ เช่น Philodendron, Alocasia, Epipremnum, Amydrium ติดตามดูคลิปความรู้อื่นๆได้ทาง https://www.youtube.com/channel/UC9MtCXYk56bOW0O6EVkWhEQ

Induction of Direct Shoot Organogenesis from Shoot Tip Explants of an Ornamental Aquatic Plant, Cryptocoryne wendtii

Sutha KLAOCHEED1,*, Wanna JEHSU2, Wanwilai CHOOJUN2, Kanchit THAMMASIRI3, Somporn PRASERTSONGSKUN4 and Suphat RITTIRAT5 1Department of Technology and Industries, Faculty of Science and Technology, Prince of Songkla University, Pattani Campus, Pattani…

Cryopreservation of Protocorm-like Bodies of Vanda lilacina Teijsm. & Binn., a Thai Orchid Species, by V-cryo-plate and D-cryo-plate Methods

Tagrid IMSOMBOON1, Kanchit THAMMASIRI2,*, Pahol KOSIYACHINDA1, Ngarmnij CHUENBOONNGARM2 and Nathinee PANVISAVAS2 1Department of Biology, Faculty of Science, Mahidol University, Bangkok 10400, Thailand 2Department of Plant Science, Faculty of Science, Mahidol…