Category: Uncategorized-en

“ดอกดินทยา” Kaempferia jenjittikuliae Noppornch.

ที่มา: https://www.facebook.com/133101993394010/posts/3767508703286636/“ดอกดินทยา”Kaempferia jenjittikuliae Noppornch.นายณัฐพล นพพรเจริญกุล นักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับนักวิจัยจากสถาบันต่างๆ ตีพิมพ์พืชสกุลเปราะหอมชนิดใหม่ของโลกตั้งชื่อพืชชนิดนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่ ผศ.ดร. ทยา เจนจิตติกุล ผู้เชี่ยวชาญพืชสกุลเปราะหอม (Kaempferia) ในประเทศไทย“The specific epithet, jenjittikuliae, is designated in honour of Dr. Thaya Jenjittikul, a ginger…

Plantlet Regeneration and Multiple Shoot Induction from Protocorm-Like Bodies (PLBs) of Medicinal Orchid Species, Dendrobium crumenatum Sw.

รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ได้ร่วมศึกษาการขยายพันธุ์กล้วยไม้หวานตะมอย (Dendrobium crumenatum Sw.) ซึ่งเป็นกล้วยไม้ใช้ทำสมุนไพร ให้เกิดหลายยอดจากโปรโตคอร์มไลค์บอดี้ โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธา เกลาฉีด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัฒน์ ฤทธิรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จังหวัดนครศรีธรรมราช รายละเอียดตามเรื่องย่อและเรื่องเต็มที่เผยแพร่ใน Walailak Journal of Science & Technology Volumn…

การอบรมหลักสูตรรุกขกรปฏิบัติการ​ 80​ ชั่วโมง

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3732907233413450 วันที่​ 5​ มีนาคม​ 2564​นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากภาควิชาพฤกษศาสตร์​ ที่เข้าร่วมการอบรมหลักสูตรรุกขกรปฏิบัติการ​ 80​ ชั่วโมง​ ได้รับวุฒิบัตรสำเร็จการอบรมจากคณะวิทยา​ศาสตร์​ มหา​วิทยาลัย​มหิดล​ และกรมป่าไม้​ โดยนศ.ระดับปริญญาโท​ นายภูมิพัฒน์ ศรีสมบัติ​ ได้คะแนนระดับดี​ นศ.ระดับปริญญาเอก​ คือนายพงศกร​ โกฉัยพัฒน์​ ทำคะแนนสอบภาคปฏิบัติได้สูงสุด​ และ​ น.ส.วันดี​ อินตะ​ ซึ่งเป็นผู้หญิงคนเดียว​ ทำคะแนนได้ในระดับดีเด่น ในวันเดียวกันนั้น​ คณบดี​ และผู้แทนอธิบดีกรมป่าไม้​ ดร.​คงศักดิ์​ มีแก้ว​…

ตัวอย่างพืชที่เก็บรวบรวมตลอดระยะเวลากว่า 300 ปี

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3725025724201601 พรรณไม้ที่ไม่มีวันโรยรา – ตัวอย่างพืชที่เก็บรวบรวมตลอดระยะเวลากว่า 300 ปีได้รับการเก็บรักษาอย่างดีที่พิพิธภัณฑ์พืชแห่งหนึ่งในกรุงลอนดอน.ณ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ตัวอย่างพืชจากทั่วโลกถูกเก็บรวบรวมถนอมรักษา และตอนนี้ก็ได้รับการบันทึกภาพเอาไว้.พิพิธภัณฑ์พืช (herbarium) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาในกรุงลอนดอนคือแหล่งสะสมตัวอย่างพืชมากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก

Top 5 กลุ่มพืชใกล้ตัวสาเหตุภูมิแพ้เรณูในประเทศไทย

คัน จาม คัดจมูก น้ำมูกไหล อาการประจำที่มักจะมาเยือนเหล่าคนทีเป็นภูมิแพ้ เมื่อไปสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้เข้าให้ สารก่อภูมิแพ้กนั้นมีมากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น ไรฝุ่น ชิ้นส่วนหรือสิ่งขับถ่ายของแมลงในบ้าน เช่น แมลงสาบ ขนและรังแคสัตว์ เชื้อรา กลิ่น ควัน ฝุ่นละออง การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของอุณหภูมิ ไปจนถึงเรณูของดอกไม้ หญ้า หรือวัชพืชต่าง ๆ ซึ่งนอกจากไรฝุ่นที่ครองแชมป์ตัวการก่อภูมิแพ้แล้ว น่าสนใจว่า ในประเทศไทยมีข้อมูลรายงานพบผู้ที่เกิดอาการภูมิแพ้จากเรณูพืชจำนวนไม่น้อยเลยทีเดียว………………………………..ฟัง​ podcast​ โดย​ ผศ.​ ดร.วิษุวัต​ สงนวล​…

วิชา​ SCPL361 Economic Botany​ขอเชิญฟัง Webinar เรื่อง🌱 Sprouting 🍔 โดย ดร.​ณัชชา วงษ์ทองดี

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3719271831443657 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์​ มหาวิทยาลัยมหิดล​โดย​ วิชา​ SCPL361 Economic Botany​ขอเชิญฟัง Webinar เรื่อง Sprouting Plant_based_Proteins​ โดย ดร.​ ณัชชา วงส์ทองดี​ จาก แอชแลนด์​ (ไทยแลนด์) บจก.วันพฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2564​ เวลา 11.00-12.00 น.ทาง Webex​ https://mahidol.webex.com/mahidol/j.php………………………………Meeting…

Happy​ Birthday​ “Dr.Arthur Kerr”

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3708075969229910 Happy​ Birthday​ “หมอคาร์”27​ กุมภาพันธ์​ 1877 เป็นวันเกิดของ​ นายแพทย์​ Arthur Kerr​ หรือที่คนไทยเรียกว่า​ “หมอคาร์​” นักพฤกษศาสตร์ผู้มีคุณูปการต่อการศึกษาพรรณพฤกษชาติในประเทศไทย​ ……………………………………………………………..อ่านเรื่องราวชีวิตทรงคุณค่าของ​ “หมอคาร์” กับ​ 30​ ปีในประเทศไทย​ และตัวอย่างพืชหลายหมื่นชิ้นที่เป็นตัวแทนทรัพยากรอันหลากหลายของเมืองไทย ได้ที่ https://readthecloud.co/arthur-kerr-botanist-in-thailand/

CRYOPRESERVATION OF ORCHID POLLINIA USING THE V CRYO-PLATE METHOD

ที่มา: http://www.cryoletters.org/Abstracts/vol_42_1_2021.htm#025 รศ. ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ได้ร่วมวิจัยเก็บรักษาก้อนเรณูกล้วยไม้ไทย 10 ชนิดในไนโตรเจนเหลว กับ ผศ. ดร.นิภาวรรณ์ จิตรโสภากุล มหาวิทยาลัยราชมงคลเทคโนโลยีอีสาน BACKGROUND: Preserving pollinia viability and fertility for pollination at specific times of the year is very important…

​ภาควิชาพฤกษศาสตร์เข้าร่วมการอบรมปีนป่ายตัดแต่งต้นไม้​ “การอบรม​รุกขกรปฏิบัติการ”

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3686635764707264 พี่ชายและพี่สาว​ จาก​ภาควิชาพฤกษศาสตร์เข้าร่วมการอบรมปีนป่ายตัดแต่งต้นไม้​ “การอบรม​รุกขกรปฏิบัติการ” จัดโดยคณะวิทยาศาสตร์​ มหาวิทยาลัยมหิดล​ ร่วมกับกรมป่าไม้ หลังจากผ่านการอบรมภาคบรรยาย​ และปฏิบัติการระดับพื้นดินแล้วในสัปดาห์ก่อน​หน้านี้ สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นการอบรมการทำงานรุกขกร​ตัดแต่งต้นไม้ในที่สูง​ ซึ่งผู้เข้าอบรมต้องฝึกการตัดแต่งกิ่งไม้อย่างถูกวิธี​ การเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสม​ และการปีนขึ้น-ลงจากต้นไม้อย่างปลอดภัย

แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และเขตอนุรักษ์พรรณไม้หายาก “พระพุทธเจติยคีรี วัดท่าขนุน”

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3668699656500875 มีดีอะไร? ต้องตามไปดู!เคยเห็น​ “บันไดเทียนชมพู” กันหรือยัง?​ ต้องที่นี่เท่านั้น! ภาควิชาพฤกษศาสตร์ มหิดล ร่วมกับ #วัดท่าขนุน#การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย#เขื่อนวชิราลงกรณจัดทำโครงการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และเขตอนุรักษ์พรรณไม้หายาก “พระพุทธเจติยคีรี วัดท่าขนุน”