Category: recent

ดอกดินสกุลเปราะในประเทศไทย

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3899425060094999 พืชสกุลเปราะหอม (genus Kaempferia) จำแนกออกเป็น 2 สกุลย่อย คือ สกุลย่อยเคมฟีเรีย/เปราะ (subgenus Kaempferia) และ สกุลย่อยโพรแทนเธียม/ดอกดิน (subgenus Protanthium) ทุกชนิดภายในสกุลย่อยโพรแทนเธียม จะสร้างช่อดอกจากลำต้นใต้ดิน(เหง้า)โดยตรง แทงขึ้นเหนือผิวดิน และพัฒนาก่อนที่จะมีลำต้นเทียมและใบ เป็นที่มาของชื่อเรียกว่า “ดอกดินสกุลเปราะ” ดอกดินสกุลเปราะในประเทศไทยKaempferia subgenus Protanthium in Thailand ปัจจุบันพบดอกดินสกุลเปราะจำนวน 12 ชนิด1…

การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืชและพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 (TURFPaG6)

ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษา ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้รับรางวัลจาก **การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืชและพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6** #TURFPaG 6 จัดโดย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ดังนี้ รางวัลชนะเลิศ pitching และรางวัลชมเชย การนำเสนอผลงานภาคบรรยาย สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ นางสาวศิรัสธร นาคแดง จากผลงานวิจัย…

IX International Scientific and Practical Conference on Biotechnology as an Instrument for Plant Biodiversity Conservation(Biotech 2021)

(Physiological, Biochemical, Embryological, Genetic and Legal aspects) At Faculty of Science, Mahidol University, Bangkok, Thailand ที่มา: https://plantscience.sc.mahidol.ac.th/biotech2020/ Welcome Committees Keynote and Invited Speakers Paper Submissions Important Deadlines Program Online Registration…

poster พรรณไม้ในอุทยานแห่งชาติน้ำตกบัวตอง-น้ำพุเจ็ดสี อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 1 (ฉบับแก้ไข)

poster พรรณไม้ในอุทยานแห่งชาติน้ำตกบัวตอง-น้ำพุเจ็ดสี อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 1 (ฉบับแก้ไข)ผลงานของ นางสาวพรหมพร นุ่มเออ Nampueng Potter นักศึกษาชั้นปีที่ 3 อาจารย์ทยา เจนจิตติกุล อาจารย์สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล Saroj Ruchisansakunเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติน้ำตกบัวตอง-น้ำพุเจ็ดสีศูนย์นวัตกรรมแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จ.เชียงใหม่ ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3853280844709421

การขยายพันธุ์ทุเรียนพื้นบ้านด้วยการปักชำ

โดยทั่วไปเกษตรกรขยายพันธุ์ “ทุเรียนพันธุ์” อร่อยๆ​ ด้วยการเสียบยอดบนต้นกล้าทุเรียนพื้นบ้าน แต่มันง่ายไป! เชื่อหรือไม่ว่า​ “#ทุเรียนพื้นบ้าน” ต้นอร่อย มีอยู่เพียงต้นเดียวเท่านั้น​ เพราะแต่ละต้นมาจากเมล็ดที่ได้จากการผสมข้ามต้นโดยค้างคาว ทุเรียนพื้นบ้านต้นสูง​ อายุหลายสิบปีจนถึง​ 200​ ปีก็มี! ขยายพันธุ์ทุเรียนเด็กๆ​ เสียบยอดไม่กี่วันก็ติดดี​ แตกใบสวยงาม​ เอาไปลงปลูกได้ แต่ทำยังไงจะอนุรักษ์และขยายพันธุ์ทุเรียนพื้นบ้าน​ ต้นแก่วัยชรา มาคุยเรื่อง​ #การขยายพันธุ์ทุเรียนพื้นบ้านด้วยการปักชำโดยตรง​ กับ​ ผศ.​ ดร.#อุษณีษ์_พิชกรรม​ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์​ คณะวิทยาศาสตร์​ มหา​วิทยาลัย​มหิดล ที่มา: https://www.facebook.com/kasetkaoklai/videos/297516878394567/

การค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลกในกลุ่ม หนาวเดือนห้า (Erycibe) 3 ชนิด จากประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย

นายพงศกร โกฉัยพัฒน์ นักศึกษาระดับปริญญาเอก และ รศ.ดร. ปวีณา ไตรเพิ่ม ร่วมกับ Dr. Timothy M.A. Utteridge จากสวนพฤกษศาสตร์ Kew ประเทศอังกฤษ ร่วมกันตีพิมพ์การค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลกในกลุ่ม หนาวเดือนห้า (Erycibe) 3 ชนิด จากประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3823495734354599

ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ในโอกาสเข้ารับรางวัลนิสิตเก่าดีเด่น

8​ เมษายน​ 2564ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในโอกาสเข้ารับรางวัลนิสิตเก่าดีเด่นคณะเกษตร ในฐานะบุคคลที่มีความดีเด่นทางการเกษตร ประจำปี พ.ศ. 2563 ประเภทนักวิชาการ/นักวิจัย จากคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8​ April​ 2021Congratulations to Assoc. Prof. Dr. Kanchit Thammasiri​​ from the Department of…

นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 วิชา SCPL311 Plant Physiology เข้าชมโรงงานผลิตพืชที่ สวทช.

เมื่อวันจันทร์ที่ 29 มีนาคม 2564 ปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 วิชา SCPL311 Plant Physiology เข้าชมโรงงานผลิตพืชที่ สวทช และได้ฟังการสอนพิเศษจาก ดร. เกรียงไกร โมสาลียานนท์ ในเรื่อง Photosynthesis characters in plant factory condition ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3795834170454089

การถ่ายทอดพันธุกรรมข้ามจากพืชสู่สัตว์

การถ่ายทอดพันธุกรรมข้ามจากพืชสู่สัตว์ทราบกันมานานแล้วว่าสิ่งมีชีวิตอาจได้รับถ่ายทอดยีนจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น​ นอกเหนือจากการได้รับจากพ่อแม่ตามปกติ​ แต่ครั้งนี้เป็นหลักฐานแรกที่นักวิจัยพบยีนของพืชในแมลงสันนิษฐานว่า​ ยีนนี้ช่วยกำจัดพิษของพืชที่แมลงกินเข้าไป​ และหากสามารถกำจัดยีนนี้ออกไปจากแมลงด้วยวิธีทางพันธุวิศวกรรม​ อาจเป็นแนวทางใหม่ในพัฒนาวิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นอ่านสรุปงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร​ Cell​ ได้ที่ https://www.nature.com/articles/d41586-021-00782-w#Horizontal_gene_transfer ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3784652004905639