Category: recent

Happy​ Birthday​ “Dr.Arthur Kerr”

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3708075969229910 Happy​ Birthday​ “หมอคาร์”27​ กุมภาพันธ์​ 1877 เป็นวันเกิดของ​ นายแพทย์​ Arthur Kerr​ หรือที่คนไทยเรียกว่า​ “หมอคาร์​” นักพฤกษศาสตร์ผู้มีคุณูปการต่อการศึกษาพรรณพฤกษชาติในประเทศไทย​ ……………………………………………………………..อ่านเรื่องราวชีวิตทรงคุณค่าของ​ “หมอคาร์” กับ​ 30​ ปีในประเทศไทย​ และตัวอย่างพืชหลายหมื่นชิ้นที่เป็นตัวแทนทรัพยากรอันหลากหลายของเมืองไทย ได้ที่ https://readthecloud.co/arthur-kerr-botanist-in-thailand/

CRYOPRESERVATION OF ORCHID POLLINIA USING THE V CRYO-PLATE METHOD

ที่มา: http://www.cryoletters.org/Abstracts/vol_42_1_2021.htm#025 รศ. ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ได้ร่วมวิจัยเก็บรักษาก้อนเรณูกล้วยไม้ไทย 10 ชนิดในไนโตรเจนเหลว กับ ผศ. ดร.นิภาวรรณ์ จิตรโสภากุล มหาวิทยาลัยราชมงคลเทคโนโลยีอีสาน BACKGROUND: Preserving pollinia viability and fertility for pollination at specific times of the year is very important…

​ภาควิชาพฤกษศาสตร์เข้าร่วมการอบรมปีนป่ายตัดแต่งต้นไม้​ “การอบรม​รุกขกรปฏิบัติการ”

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3686635764707264 พี่ชายและพี่สาว​ จาก​ภาควิชาพฤกษศาสตร์เข้าร่วมการอบรมปีนป่ายตัดแต่งต้นไม้​ “การอบรม​รุกขกรปฏิบัติการ” จัดโดยคณะวิทยาศาสตร์​ มหาวิทยาลัยมหิดล​ ร่วมกับกรมป่าไม้ หลังจากผ่านการอบรมภาคบรรยาย​ และปฏิบัติการระดับพื้นดินแล้วในสัปดาห์ก่อน​หน้านี้ สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นการอบรมการทำงานรุกขกร​ตัดแต่งต้นไม้ในที่สูง​ ซึ่งผู้เข้าอบรมต้องฝึกการตัดแต่งกิ่งไม้อย่างถูกวิธี​ การเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสม​ และการปีนขึ้น-ลงจากต้นไม้อย่างปลอดภัย

แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และเขตอนุรักษ์พรรณไม้หายาก “พระพุทธเจติยคีรี วัดท่าขนุน”

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3668699656500875 มีดีอะไร? ต้องตามไปดู!เคยเห็น​ “บันไดเทียนชมพู” กันหรือยัง?​ ต้องที่นี่เท่านั้น! ภาควิชาพฤกษศาสตร์ มหิดล ร่วมกับ #วัดท่าขนุน#การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย#เขื่อนวชิราลงกรณจัดทำโครงการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และเขตอนุรักษ์พรรณไม้หายาก “พระพุทธเจติยคีรี วัดท่าขนุน”

รัก Calotropis gigantea (L.) Dryand. วงศ์​ลั่นทม Apocynaceae

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3668677839836390 รักCalotropis gigantea (L.) Dryand.วงศ์​ลั่นทม Apocynaceae ปล.​1​ ชื่อ​ “รัก” อาจมีที่มาจากชื่อภาษาอารบิคว่า​ karak หรือ​ภาษาท้องถิ่นอินเดีย​ว่า​ kharak ภาษาลาว​ เรียก​ ดอกฮัก (อันที่จริง​ มีชื่อเรียกอื่นอีกมากมายในท้องถิ่นต่างๆ​ ที่หมายถึงต้นดอกรัก) ปล.​ 2​ ต้นรักที่ให้ยางสำหรับลงรักปิดทอง​ เป็นไม้ต้น​วงศ์มะม่วง​ (Anacardiaceae)​ คือ​ รักใหญ่​ หรือฮักหลวง Gluta usitata…

รายงานการค้นพบ”เทียนทวาย”Impatiens tanintharyiensis Ruchis., Suksathan, & Saw-Lwin

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3653563558014485 รายงานการค้นพบ “เทียนทวาย” Impatiens tanintharyiensis Ruchis., Suksathan, & Saw-Lwin ร่วมกับ ดร. ปิยเกษตร สุขสถาน ดร.ปราโมทย์ ไตรบุญ และ นายชลิต สินโรจน์ธนากร (หัวหน้าอุทยานแห่งชาติน้ำตกหงาว)

Evolution of pollination syndromes and corolla symmetry in Balsaminaceae reconstructed using phylogenetic comparative analyses

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3584404684930373 อาจารย์สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ตีพิมพ์งานวิจัยเรื่อง “Evolution of pollination syndromes and corolla symmetry in Balsaminaceae reconstructed using phylogenetic comparative analyses” ในวารสาร Annals of Botany

ภูมิแพ้จากละอองเกสรดอกไม้ โดย ผศ. ดร. วิษุวัต สงนวล

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3579925632044945 ในประเทศไทย มีคนที่เป็นภูมิแพ้จากละอองเกสรดอกไม้จำนวนมาก ขณะที่ฐานข้อมูลที่มีการสำรวจส่วนมากเป็นของต่างประเทศ อ.วิษุวัต คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล ได้ทำวิจัยโดยสำรวจละอองเกสรดอกไม้ในประเทศไทยว่า มีมากน้อยแค่ไหนที่ก่อภูมิแพ้ ศึกษาลงลึกถึงระดับโมเลกุลว่า โปรตีนชนิดไหนในละอองเกสรที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ ติดตามในรายการชีวิตชีวา

ณัฐพล นพพรเจริญกุล นักซิสเทมาติกส์ ด้านความหลากหลายทางพันธุกรรมและชนิดพันธุ์พืช

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3515208341850008 นักซิสเทมาติกส์ ผู้พิทักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของโลก บนโลกของเรามีสิ่งมีชีวิตอยู่มากมายหลายล้านชนิด ในการค้นพบชนิดพันธุ์ใหม่ ๆ ผู้ที่ค้นพบจะต้องเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญ และรู้จักสิ่งมีชีวิตทุกสายพันธุ์หรือไม่ ที่สำคัญคือรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งที่ค้นพบเป็นชนิดพันธุ์ใหม่อย่างแท้จริง การรายงานการค้นพบนั้นเกี่ยวข้องกับการรายงานชนิดพันธุ์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเชื่อมโยงกับความอยู่รอดของมนุษย์อย่างไร

ร่วมแสดงความยินดีกับ​ รศ.​ ดร.ครรชิต​ ธรรมศิริ​

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3515137178523791 ขอแสดงความยินดีกับ​ รองศาสตราจารย์​ ดร.ครรชิต​ ธรรมศิริ​ ในโอกาสที่ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น​นิสิตเก่าดีเด่น​ทางการเกษตรประเภท​นักวิชาการ/นักวิจัย​ ประจำปี​ พ.ศ.​2563​ จากสมาคมนิสิตเก่าคณะเกษตร​ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์