Evolution and Classification of Musaceae Based on Male Floral Morphology
New publication released! Wandee, ajan Sasivimon and their Mahidol #Banana Bunch have spent a decade investigating flowers of wild bananas, looking into their genetics and analyzing their relationship. They finally…
อบรมเชิงปฏิบัติการ การวาดภาพทางวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 22 (The 22nd Scientific Illustration Workshop) 27-29 กรกฎาคม 2566
หลักการและเหตุผล ภาพวาดทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ภาพวาดประกอบข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ใช้เพื่ออธิบายความรู้ในสาขาต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ เช่น ดาราศาสตร์ ธรณีวิทยา สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ ฯลฯ ซึ่งเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการจัดทำเอกสาร ตำรา และประกอบบทความในลักษณะต่างๆ ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีด้านการถ่ายภาพจะก้าวหน้าไป แต่ภาพถ่ายก็ไม่อาจทดแทนภาพวาดได้ เพราะภาพวาดทางวิทยาศาสตร์ได้จากการประมวลความรู้ กลั่นกรองข้อมูลออกมาเป็นภาพ ภาพวาดทางวิทยาศาสตร์ที่ดีมีคุณค่าเทียบเท่ากับตำราในเรื่องนั้นๆ ผู้วาดต้องศึกษาตัวอย่างต้นแบบอย่างรอบด้าน สร้างสรรค์ขึ้นจากข้อมูลจริง และแสดงออกมาเป็นภาพที่ถูกต้อง แม่นยำ และสวยงาม ปัจจุบันภาพวาดทางวิทยาศาสตร์เป็นที่รู้จักมากขึ้นในวงกว้าง และเป็นที่ต้องการ ทั้งในแวดวงวิชาการ และเพื่อสุนทรียะ ภาควิชาพฤกษศาสตร์…
การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืชและพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 8
การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืชและพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 8 (งานประชุมพฤกษศาสตร จุฬา-เกษตร-มหิดล) ในการนี้ภาควิชาพฤกษศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพในปีนี้ นักศึกษาทุกคนนำเสนอผลงานได้อย่างดีเยี่ยม และขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ มหิดล ได้ 4 รางวัลจากการนำเสนอผลงานระดับชาติในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืชและพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 (TURFPaG#8) เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2566 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รางวัลนำเสนอแบบบรรยายระดับดีมาก: น.ส. บุญญาพร มะลิวัลย์ …
Congratulations to Asst. Prof. Alyssa Stewart on being appointed to the position. “Associate Professor”
Department of Botany would like to congratulate Asst. Prof. Alyssa Stewart for being appointed to the position. “Associate Professor” in field of Ecology
A novel rubber tree PR-10 protein involved in host-defense response against the white root rot fungus Rigidoporus microporus
โปรตีน PR-10 ชนิดใหม่มีความเกี่ยวข้องกับกลไกป้องกันตัวเองของต้นยางพาราเมื่อติดเชื้อโรครากขาว (A novel rubber tree PR-10 protein involved in host-defense response against the white root rot fungus Rigidoporus microporus) โรครากขาวในยางพาราเป็นปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ปลูกยางในประเทศไทยและหลายประเทศผู้ผลิตยางทั่วโลก งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบโปรตีนทั้งระบบของใบยางพาราที่เปลี่ยนไปเมื่อต้นยางพาราติดเชื้อโรครากขาว เพื่อทำความเข้าใจการตอบสนองและกลไกการป้องกันตัวเองของต้นยางพารา งานวิจัยนี้พบโปรตีนหลายชนิด รวมถึงโปรตีนตัวหนึ่งที่เพิ่มขึ้นสูงมากอย่างเห็นได้ชัด แต่ไม่มีการรายงานหน้าที่หรือจัดกลุ่มมาก่อน (uncharacterized protein) งานวิจัยนี้จึงใช้การทำนายโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีนต่างๆ…
ศึกษาดูงานสวนพฤกษศาสตร์ & Flora Exhibition Hall & กิจกรรมเก็บขยะที่หาดแสงจันทร์ & ศูนย์การเรียนรู้ป่าชายเลน จ.ระยอง
การศึกษาดูงาน (Study trip) คือ การศึกษานอกสถานที่รูปแบบหนึ่งเพื่อการเรียนรู้ และแสวงหาประสบการณ์ใหม่ๆที่คาดหวังว่าจะสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในองค์กร หน่วยงาน หรือปรับปรุงกระบวนการทำงานในบทบาทหน้าที่สำคัญของแต่ละบุคคล ทั้งปัจจัยความสำเร็จและปัญหาอุปสรรค/ข้อควรระวังที่จะได้เรียนรู้จากองค์กรที่ไปศึกษาดูงานทั้งยังเป็นการเปลี่ยนบรรยากาศโดยการไปพบเห็นสิ่งใหม่ซึ่งสามารถเสริมสร้างแนวคิดใหม่ และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น จึงเป็นกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการพัฒนาบุคลากรที่จะช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ให้กับบุคลากร และนักศึกษา อีกทั้งเป็นการเปิดมุมมองที่จะรับการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ สร้างความพร้อมให้แก่ทั้งตัวบุคลากรเอง และสร้างผลสัมฤทธิ์ให้แก่ทีมงาน/หน่วยงาน และองค์กร ทั้งนี้ก็เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ผู้ที่ไปศึกษาดูงานต้องใช้ทักษะการสอบถาม การสังเกต และแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติงานและการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานจากสถาบันที่ไปศึกษาดูงาน ในการนี้ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จึงได้จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ศึกษาดูงานยังองค์กรต่างๆ เพื่อให้มีความรู้ เกิดประสบการณ์ ระหว่างวันที่…
🌳Special Seminar in Plant Science🌿 “Flora of Thailand” by Prof. Henrik Balslev
บันทึก VDO🌳Special Seminar in Plant Science🌿“Flora of Thailand”by Prof. Henrik BalslevDepartment of Biology, Aarhus University, Denmarkat Room K102, Chaloemphrakiat Bldg., Faculty of Science, Mahidol University Phayathai, Bangkok
นักศึกษาชั้นปีที่ 2 มาดูงานที่พิพิธภัณฑ์พระราม 9
ผศ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล พานักศึกษาชั้นปีที่ 2 มาดูงานที่พิพิธภัณฑ์พระราม 9 โดยมี ดร.ณัฐพล นพพรเจริญกุล ศิษย์เก่าของภาควิชา มาเป็นวิทยากร ผศ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล พานักศึกษาชั้นปีที่ 2 มาดูงานที่พิพิธภัณฑ์พระราม 9 โดยมี ดร.ณัฐพล นพพรเจริญกุล ศิษย์เก่าของภาควิชา มาเป็นวิทยากร
ผศ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล และผู้ร่วมวิจัยชาวพม่า Dakaw Phong San รายงานพืช new record ในพม่า Impatiens latiflora Hook.f. & Thomson
ผศ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ร่วมกับผู้ร่วมวิจัยชาวพม่า Dakaw Phong San รายงานพืช new record ในพม่า Impatiens latiflora Hook.f. & Thomson ซึ่งก่อนหน้านี้มีรายงานการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภูฐานถึงอินเดีย โดยพืชชนิดดังกล่าวมีลักษณะแตกต่างจากพืชสกุลเทียนชนิดอื่นในพม่าโดยการที่มีกลีบดอกระนาบแบนสีชมพูดคล้านเทียนกลุ่มเทียนดอย Impatiens violiflora Hook.f. แต่มีการออกดอกเป็นช่อยาว มีดอก 2-6 ดอก ต้นสูงได้ถึง 60 ซม. พืชดังกล่าวมีการกระจายพันธุ์กว้างและพบจำนวนมากอยู่ ทำให้มีความเสี่ยงสูญพันธุ์น้อยที่สุด…