ชีววิทยาการถ่ายเรณูและชีววิทยาดอกในพู่ม่วงสยาม (Argyreia siamensis)พืชหายากถิ่นเดียวในประเทศไทย

น.ส. อวภาส์ จิรบรรจงจิต นักศึกษาปริญญาโท ร่วมกับ รศ. ดร. ปวีณา ไตรเพิ่ม, ผศ. ดร. อลิสา สจว๊ต และ ดร. โทโมกิ ซานโด ร่วมกันตีพิมพ์งานวิจัย ชีววิทยาการถ่ายเรณูและชีววิทยาดอกในพู่ม่วงสยาม (Argyreia siamensis)พืชหายากถิ่นเดียวในประเทศไทย Pollination and Floral Biology of a Rare Morning Glory…

แข่งขันตอบคำถาม “ต้นนี้ ชื่ออะไร”

ภาควิชา #พฤกษศาสตร์#คณะวิทยาศาสตร์#มหาวิทยาลัยมหิดลขอเชิญน้อง ๆ ระดับ #มัธยมศึกษาตอนปลายเข้าร่วมกิจกรรม #แข่งขันตอบคำถาม วิชาการ“ต้นนี้ ชื่ออะไร”60 คำถาม 60 ภาพ 4 ตัวเลือก 1 นาทีรอบที่ 1 –> 20 ภาพ 20 ชื่อวงศ์ รอบที่ 2 -​-> 20 ภาพ 20 ชื่อไทยรอบที่ 3​ -​->…

Evaluating the drought endurance of landscaping ground cover plants in a roof top model.

สิ่งแวดล้อมของสวนหลังคา สวนริมถนน หรือสวนที่มีการดูแลรักษาต่ำในเขตร้อนจะมีอุณหภูมิสูง ปริมาณแสงแดดมาก และความชื้นในดินน้อย ซึ่งสภาพเหล่านี้ก่อเกิดภาวะเครียดแก่ต้นพืช การเลือกใช้พรรณไม้ที่มีความทนทานจะช่วยรักษาความสวยงามของสวนได้ อย่างไรก็ตามฐานข้อมูลคุณสมบัตินี้ของพืชในงานภูมิทัศน์ของประเทศไทยมีจำกัด เป็นอุปสรรคต่อการเลือกใช้พรรณไม้ของภูมิสถาปนิก องค์ความรู้ของการตอบสนองของไม้คลุมดินบางชนิดภายใต้รูปแบบจำลองสภาพสวนหลังคาที่ไม่มีการให้น้ำ (non-irrigated rooftop model) ถูกนำมาต่อยอดเพื่อค้นหาดัชนีประเมินความทนทานต่อการขาดน้ำโดยยังมีความสวยงาม ด้วยการศึกษากับไม้คลุมดินการค้าจำนวน 25 ชนิด พบว่า ดัชนีที่มีประสิทธิภาพสำหรับจัดระดับความทนทานมี 3 ลักษณะ คือ ปริมาณน้ำในใบ อัตราการเปิดปากใบ และคะแนนความสวยงาม เมื่อนำตัวชี้วัดทั้งสามไปจัดระดับความทนทานต่อการขาดน้ำด้วย cluster analysis พบว่า กลุ่มไม้คลุมดินที่มีระดับความทนทานมากจะมีปริมาณน้ำในใบสูง…

OPEN HOUSE ภาควิชาพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

Live สดสองรอบ 10.00-12.00 / 13.30-14.20 ทาง https://mahidol.webex.com/mahidol-en/j.php?MTID=m87431a3f0aa44651ee27684be761f5ab ภาควิชาพฤกษศาสตร์ มหิดล รับสมัคร นักศึกษา ตรี โท เอก – ป. ตรี สาขาพฤกษศาสตร์ •TCAS1 2 3 https://tcas.mahidol.ac.th – ป.โท สาขาวิทยาการพืช (หลักสูตรนานาชาติ) – ป.เอก สาขาพฤกษศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)…

การพัฒนาไมโครอาร์เรย์ชิพสำหรับตรวจสอบความไวต่อสารก่อภูมิแพ้ในเรณูหญ้าและวัชพืชเขตร้อน

Mahidol University – #Reinventing_Universityขอแสดงความยินดี กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิษุวัต สงนวล ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ในโอกาสที่เป็น 1 ใน 3 นักวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนในโครงการ”การพัฒนาไมโครอาร์เรย์ชิพสำหรับตรวจสอบความไวต่อสารก่อภูมิแพ้ในเรณูหญ้าและวัชพืชเขตร้อน”จากโครงการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมเครื่องมือแพทย์ (#Medical_Devices) ของไทยเพื่อความยั่งยืนและการแข่งขันในระดับนานาชาติ ภายใต้การดำเนินงานโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University System) ของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยการสนับสนุนของ สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)#Wisuwat_Songnuan#Microarray#Allergent#pollen#Tropical_weeds

Review พฤกษศาสตร์ มหิดล 2021 นายอธิกมาส ขำสุวรรณ ฝึกงาน: ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร

Review พฤกษศาสตร์ มหิดล 2021นายอธิกมาส ขำสุวรรณฝึกงาน: ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่มา: https://fb.watch/69gLYEUGP4/