Assessment of physiological parameters to determine drought tolerance of plants for extensive green roof architecture in tropical areas
Highlights This study aimed to assess the suitability of selected tropical groundcover plants for extensive green roof architecture, especially by investigating physiological parameters of plants under drought stress. Relative water…
Evaluating the drought endurance of landscaping ground cover plants in a roof top model.
สิ่งแวดล้อมของสวนหลังคา สวนริมถนน หรือสวนที่มีการดูแลรักษาต่ำในเขตร้อนจะมีอุณหภูมิสูง ปริมาณแสงแดดมาก และความชื้นในดินน้อย ซึ่งสภาพเหล่านี้ก่อเกิดภาวะเครียดแก่ต้นพืช การเลือกใช้พรรณไม้ที่มีความทนทานจะช่วยรักษาความสวยงามของสวนได้ อย่างไรก็ตามฐานข้อมูลคุณสมบัตินี้ของพืชในงานภูมิทัศน์ของประเทศไทยมีจำกัด เป็นอุปสรรคต่อการเลือกใช้พรรณไม้ของภูมิสถาปนิก องค์ความรู้ของการตอบสนองของไม้คลุมดินบางชนิดภายใต้รูปแบบจำลองสภาพสวนหลังคาที่ไม่มีการให้น้ำ (non-irrigated rooftop model) ถูกนำมาต่อยอดเพื่อค้นหาดัชนีประเมินความทนทานต่อการขาดน้ำโดยยังมีความสวยงาม ด้วยการศึกษากับไม้คลุมดินการค้าจำนวน 25 ชนิด พบว่า ดัชนีที่มีประสิทธิภาพสำหรับจัดระดับความทนทานมี 3 ลักษณะ คือ ปริมาณน้ำในใบ อัตราการเปิดปากใบ และคะแนนความสวยงาม เมื่อนำตัวชี้วัดทั้งสามไปจัดระดับความทนทานต่อการขาดน้ำด้วย cluster analysis พบว่า กลุ่มไม้คลุมดินที่มีระดับความทนทานมากจะมีปริมาณน้ำในใบสูง…
OPEN HOUSE ภาควิชาพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Live สดสองรอบ 10.00-12.00 / 13.30-14.20 ทาง https://mahidol.webex.com/mahidol-en/j.php?MTID=m87431a3f0aa44651ee27684be761f5ab ภาควิชาพฤกษศาสตร์ มหิดล รับสมัคร นักศึกษา ตรี โท เอก – ป. ตรี สาขาพฤกษศาสตร์ •TCAS1 2 3 https://tcas.mahidol.ac.th – ป.โท สาขาวิทยาการพืช (หลักสูตรนานาชาติ) – ป.เอก สาขาพฤกษศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)…
การพัฒนาไมโครอาร์เรย์ชิพสำหรับตรวจสอบความไวต่อสารก่อภูมิแพ้ในเรณูหญ้าและวัชพืชเขตร้อน
Mahidol University – #Reinventing_Universityขอแสดงความยินดี กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิษุวัต สงนวล ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ในโอกาสที่เป็น 1 ใน 3 นักวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนในโครงการ”การพัฒนาไมโครอาร์เรย์ชิพสำหรับตรวจสอบความไวต่อสารก่อภูมิแพ้ในเรณูหญ้าและวัชพืชเขตร้อน”จากโครงการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมเครื่องมือแพทย์ (#Medical_Devices) ของไทยเพื่อความยั่งยืนและการแข่งขันในระดับนานาชาติ ภายใต้การดำเนินงานโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University System) ของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยการสนับสนุนของ สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)#Wisuwat_Songnuan#Microarray#Allergent#pollen#Tropical_weeds
Cytogenetic verification of Curcuma candida (Zingiberaceae) from Thailand and Myanmar
Curcuma candida (precocious, Zingiberaceae) is a conservation-vulnerable species, rare and endemic to the Tenasserim Range (Thio Khao Tanaosri: the border of Thailand and Myanmar). This species was initially classified into…
Karyotypic and molecular cytogenetic characterization of diploid and polyploid accessions of medicinal herbs in the genus Paris from northern Thailand
Paris L. is a rare genus with high valued medicinal plant in the family Melanthiaceae. The rhizomes of this plant have been used for treatment of several symptoms such as…
Review พฤกษศาสตร์ มหิดล 2021 นายอธิกมาส ขำสุวรรณ ฝึกงาน: ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร
Review พฤกษศาสตร์ มหิดล 2021นายอธิกมาส ขำสุวรรณฝึกงาน: ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่มา: https://fb.watch/69gLYEUGP4/
ดอกดินสกุลเปราะในประเทศไทย
ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3899425060094999 พืชสกุลเปราะหอม (genus Kaempferia) จำแนกออกเป็น 2 สกุลย่อย คือ สกุลย่อยเคมฟีเรีย/เปราะ (subgenus Kaempferia) และ สกุลย่อยโพรแทนเธียม/ดอกดิน (subgenus Protanthium) ทุกชนิดภายในสกุลย่อยโพรแทนเธียม จะสร้างช่อดอกจากลำต้นใต้ดิน(เหง้า)โดยตรง แทงขึ้นเหนือผิวดิน และพัฒนาก่อนที่จะมีลำต้นเทียมและใบ เป็นที่มาของชื่อเรียกว่า “ดอกดินสกุลเปราะ” ดอกดินสกุลเปราะในประเทศไทยKaempferia subgenus Protanthium in Thailand ปัจจุบันพบดอกดินสกุลเปราะจำนวน 12 ชนิด1…
การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืชและพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 (TURFPaG6)
ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษา ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้รับรางวัลจาก **การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืชและพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6** #TURFPaG 6 จัดโดย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ดังนี้ รางวัลชนะเลิศ pitching และรางวัลชมเชย การนำเสนอผลงานภาคบรรยาย สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ นางสาวศิรัสธร นาคแดง จากผลงานวิจัย…
IX International Scientific and Practical Conference on Biotechnology as an Instrument for Plant Biodiversity Conservation(Biotech 2021)
(Physiological, Biochemical, Embryological, Genetic and Legal aspects) At Faculty of Science, Mahidol University, Bangkok, Thailand ที่มา: https://plantscience.sc.mahidol.ac.th/biotech2020/ Welcome Committees Keynote and Invited Speakers Paper Submissions Important Deadlines Program Online Registration…