เฮลิโคเนียเป็นพันธุ์ไม้ในอันดับขิงที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้
#เฮลิโคเนียเป็นพันธุ์ไม้ในอันดับขิงที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้ หรือที่เรียกว่า “โลกใหม่” คู่ขนานกับขิงข่าหรือกล้วยที่เติบโตในเขตร้อนของเอเชีย หรือ “โลกเก่า”การเกิดสิ่งมีชีวิตแบบคู่ขนานนี้ พบได้ในสัตว์เช่นเดียวกันที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ นกทูแคน tucan สีสันสดใสในอเมริกาใต้ กับนกเงือกขนาดใหญ่น่าทึ่งของเอเชีย#ไม่มีเฮลิโคเนียในป่าธรรมชาติของไทย#เมืองไทยไม่มีทูแคนเหมือนกับที่#หมีขาวไม่อยู่ในแอนตาร์กติกา#เพนกวินไม่อยู่ในอาร์กติกและ ขำๆ#ไม่มีจิงโจ้ในออสเตรีย นะจ๊ะ
ผลงานของนักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพได้รับการเสนอชื่อเข้ารับการคัดเลือก รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2563
ผลงานของนักศึกษา #หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ ที่มีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชีรา วิบูลย์จันทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนิดา คงสวัสดิ์วรกุลภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ และผู้เขียนร่วมได้รับการเสนอชื่อเข้ารับการคัดเลือก #รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2562ชมการนำเสนอออนไลน์ได้ในวันที่ 14 กรกฎาคม 2563 นี้ Sae-Lim P., Naktang C., Yoocha T., Nirapathpongporn K., Viboonjun U., Kongsawadworakul P.,…
วิจัย “หญ้าไหวทาม” ยามชายฝั่งตรวจน้ำมันรั่ว ช่วยระบบนิเวศ
ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3026310754073105ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/886737 นางสาวญาณิศา โอฬารานนท์ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการพืช (หลักสูตรนานาชาติ) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมี รองศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา ไตรเพิ่ม เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดล ให้ศึกษาวิจัย เรื่อง “ผลกระทบของน้ำมันดิบต่อพืชชายฝั่งทะเล” กล่าวเสริมว่า พืชเป็นตัวแปรหนึ่งที่สำคัญต่อระบบนิเวศ โดยพืชชายฝั่งทะเลเปรียบเสมือน “ยามชายฝั่ง” ที่อาจตรวจจับการรั่วไหลของน้ำมันและส่งสัญญาณให้เรารับรู้ได้แม้ว่ามีการปนเปื้อนเพียงเล็กน้อย
News of the First International Symposium on Botanical Gardens and Landscapes (BGL2019) appears in the latest Chronica_Horticulturae BGL2019
ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3039376652766515
ความรู้เรื่องต้นไม้ใบสวยงามในวงศ์บุกบอน (Araceae)
ขอเชิญ subscribe ช่องยูทูปใหม่เป็นกำลังใจให้ศิษย์เก่าพฤกษศาสตร์ มหิดล“เจนพจน์ ข่ายม่าน” Joeojo_Foliage ที่ https://www.youtube.com/channel/UC9MtCXYk56bOW0O6EVkWhEQแนะนำ และให้ความรู้เรื่องต้นไม้ใบสวยงาม ส่วนใหญ่ในวงศ์บุกบอน (Araceae) เช่น Philodendron, Alocasia, Epipremnum, Amydrium ติดตามดูคลิปความรู้อื่นๆได้ทาง https://www.youtube.com/channel/UC9MtCXYk56bOW0O6EVkWhEQ
Kaempferia albiflora (Zingiberaceae), a new species from Thailand
Assist. Prof. Dr. Thaya Jenjittikul and Dr. Saroj Ruchisansakun published a new article “Kaempferia albiflora (Zingiberaceae), a new species from Thailand” in the journal Kew Bulletin (2020) 75:13DOI 10.1007/S12225-020-9868-4
Year-round temporal stability of a tropical, urban plant-pollinator network
Assist. Prof. Dr. Alyssa B. Stewart and Alyssa B. Stewart and Pattharawadee Waitayachart published a new article “Year-round temporal stability of a tropical, urban plant-pollinator network” in the journal Plos…
Induction of Direct Shoot Organogenesis from Shoot Tip Explants of an Ornamental Aquatic Plant, Cryptocoryne wendtii
Sutha KLAOCHEED1,*, Wanna JEHSU2, Wanwilai CHOOJUN2, Kanchit THAMMASIRI3, Somporn PRASERTSONGSKUN4 and Suphat RITTIRAT5 1Department of Technology and Industries, Faculty of Science and Technology, Prince of Songkla University, Pattani Campus, Pattani…
Cryopreservation of Protocorm-like Bodies of Vanda lilacina Teijsm. & Binn., a Thai Orchid Species, by V-cryo-plate and D-cryo-plate Methods
Tagrid IMSOMBOON1, Kanchit THAMMASIRI2,*, Pahol KOSIYACHINDA1, Ngarmnij CHUENBOONNGARM2 and Nathinee PANVISAVAS2 1Department of Biology, Faculty of Science, Mahidol University, Bangkok 10400, Thailand 2Department of Plant Science, Faculty of Science, Mahidol…
The management of allergic rhinitis (AR) aggravated by air pollutants
International expert consensus on the management of allergic rhinitis (AR) aggravated by air pollutants: Impact of air pollution on patients with AR: Current knowledge and future strategies Allergic rhinitis affects…