Author: Sombat Sriwanngarm

Evolution of pollination syndromes and corolla symmetry in Balsaminaceae reconstructed using phylogenetic comparative analyses

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3584404684930373 อาจารย์สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ตีพิมพ์งานวิจัยเรื่อง “Evolution of pollination syndromes and corolla symmetry in Balsaminaceae reconstructed using phylogenetic comparative analyses” ในวารสาร Annals of Botany

ภูมิแพ้จากละอองเกสรดอกไม้ โดย ผศ. ดร. วิษุวัต สงนวล

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3579925632044945 ในประเทศไทย มีคนที่เป็นภูมิแพ้จากละอองเกสรดอกไม้จำนวนมาก ขณะที่ฐานข้อมูลที่มีการสำรวจส่วนมากเป็นของต่างประเทศ อ.วิษุวัต คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล ได้ทำวิจัยโดยสำรวจละอองเกสรดอกไม้ในประเทศไทยว่า มีมากน้อยแค่ไหนที่ก่อภูมิแพ้ ศึกษาลงลึกถึงระดับโมเลกุลว่า โปรตีนชนิดไหนในละอองเกสรที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ ติดตามในรายการชีวิตชีวา

ณัฐพล นพพรเจริญกุล นักซิสเทมาติกส์ ด้านความหลากหลายทางพันธุกรรมและชนิดพันธุ์พืช

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3515208341850008 นักซิสเทมาติกส์ ผู้พิทักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของโลก บนโลกของเรามีสิ่งมีชีวิตอยู่มากมายหลายล้านชนิด ในการค้นพบชนิดพันธุ์ใหม่ ๆ ผู้ที่ค้นพบจะต้องเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญ และรู้จักสิ่งมีชีวิตทุกสายพันธุ์หรือไม่ ที่สำคัญคือรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งที่ค้นพบเป็นชนิดพันธุ์ใหม่อย่างแท้จริง การรายงานการค้นพบนั้นเกี่ยวข้องกับการรายงานชนิดพันธุ์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเชื่อมโยงกับความอยู่รอดของมนุษย์อย่างไร

ร่วมแสดงความยินดีกับ​ รศ.​ ดร.ครรชิต​ ธรรมศิริ​

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3515137178523791 ขอแสดงความยินดีกับ​ รองศาสตราจารย์​ ดร.ครรชิต​ ธรรมศิริ​ ในโอกาสที่ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น​นิสิตเก่าดีเด่น​ทางการเกษตรประเภท​นักวิชาการ/นักวิจัย​ ประจำปี​ พ.ศ.​2563​ จากสมาคมนิสิตเก่าคณะเกษตร​ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Talk wiht Assoc. Prof.Nathinee Panvisavas, Forensic botany Lab, Plant Science Mahidol

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3511935978843911 รศ. ดร. ณัฏฐินี พันธ์วิศวาส ห้องปฎิบัติการ#นิติพฤกษศาสตร์ #ภาควิชาพฤกษศาสตร์ #คณะวิทยาศาสตร์ #มหาวิทยาลัยมหิดล #PlantScience #Botany #Science #Mahidol #TCAS

หน่วย​ GSFL​ เข้าพบผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสมุนไพร​ เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์​การ​แพทย์​

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3477157612321748 1​ ธันวาคม​ 2563 หน่วย​ GSFL​ ภาควิชาพฤกษศาสตร์​ คณะวิทยาศาสตร์​ มหาวิทยาลัยมหิดล​ นำโดย​ ผศ.​ ดร.ศศิวิมล​ แสวงผล​ และ​ ผศ.​ ดร.วิษุวัต​ สงนวล​ เข้าพบ​ ภญ.ศิริวรรณ ชัยสมบูรณ์พันธ์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสมุนไพร​ เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์​การ​แพทย์​ กระทรวง​สาธารณสุข​ เพื่อริเริ่มข้อตกลงร่วมงานโครงการวิจัยพิสูจน์เอกลักษณ์​ และจำแนกพันธุ์พืชสมุนไพรด้วยลักษณะสัณฐานวิทยา​กายวิภาคศาสตร์​ และชีวโมเลกุล

เยี่ยมชมนิทรรศการถาวรเรื่องกำเนิดโลก​ ณ พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3459872614050248 นักศึกษาวิชานิเวศวิทยาและวิวัฒนาการ​ของ​พืช​ เยี่ยมชมนิทรรศการถาวรเรื่องกำเนิดโลก​ กำเนิดสิ่งมีชีวิต​ กำเนิดมนุษย์​ ระบบนิเวศทั่วโลก​ มาถึงป่าของประเทศไทย​ และพระราชภารกิจของในหลวงรัชกาลที่​ ๙

สำรวจพรรณไม้ในเขต อช. น้ำตกบัวตอง-น้ำพุเจ็ดสี อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่

ที่มา https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3454624101241766 อาจารย์สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล พากลุ่มนักศึกษาออกสำรวจความหลากหลายของพรรณไม้ในเขต อช. น้ำตกบัวตอง-น้ำพุเจ็ดสี อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่

มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติประจำปี 2563 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 2 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี

งานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของปีและของประเทศ จัดขึ้นเพื่อร่วมเทิดพระเกียรติพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย และพระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทยและพระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย โดยมีการจัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมจากความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ แสดงถึงศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และการอุดมศึกษา ที่นำสมัย สามารถสร้างความตื่นเต้น สร้างแรงบันดาลใจ และความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์แก่สังคมไทย โดยเป็นโอกาสที่เยาวชนและประชาชนทั่วไปจะได้เข้าถึงข้อมูล องค์ความรู้ ประสบการณ์การลงมือทำ และมีส่วนร่วมกับกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบที่แปลกใหม่ สนุกสนาน ซึ่งจะก่อให้เกิดทัศนคติเชิงบวก กระตุ้นการคิดและการตั้งคำถาม และนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long learning) ต่อไป รูปแบบของกิจกรรมในงานเป็นเทศกาลทางวิทยาศาสตร์ (science festival) ประกอบด้วย การจัดนิทรรศการด้านวิทยาศาสตร์…

นักวิจัยไทยพิสูจน์พบ ‘บัวหิน’ เป็นไม้หัวชนิดใหม่ของโลก

ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3427452047292305 นักวิจัยไทยพิสูจน์พบ ‘บัวหิน’ เป็นไม้หัวชนิดใหม่ของโลก.ในเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ผศ.ดร.ทยา เจนจิตติกุล และ ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทำการตีพิมพ์พืชสกุลสบู่เลือด (Stephania) หรือที่เหล่านักสะสมต้นไม้รู้จักกันก็คือ กลุ่มของบัวบกโขดและบอระเพ็ดพุงช้าง ในวารสาร Phytotaxa 464 (3) โดยพืชชนิดใหม่นี้มีชื่อว่า บัวหิน (Stephania Kaweesakii Jenjitt. & Ruchis.) หรือที่รู้จักกันในชื่ออื่นๆ คือ…