Category: publication

Evaluating the drought endurance of landscaping ground cover plants in a roof top model.

สิ่งแวดล้อมของสวนหลังคา สวนริมถนน หรือสวนที่มีการดูแลรักษาต่ำในเขตร้อนจะมีอุณหภูมิสูง ปริมาณแสงแดดมาก และความชื้นในดินน้อย ซึ่งสภาพเหล่านี้ก่อเกิดภาวะเครียดแก่ต้นพืช การเลือกใช้พรรณไม้ที่มีความทนทานจะช่วยรักษาความสวยงามของสวนได้ อย่างไรก็ตามฐานข้อมูลคุณสมบัตินี้ของพืชในงานภูมิทัศน์ของประเทศไทยมีจำกัด เป็นอุปสรรคต่อการเลือกใช้พรรณไม้ของภูมิสถาปนิก องค์ความรู้ของการตอบสนองของไม้คลุมดินบางชนิดภายใต้รูปแบบจำลองสภาพสวนหลังคาที่ไม่มีการให้น้ำ (non-irrigated rooftop model) ถูกนำมาต่อยอดเพื่อค้นหาดัชนีประเมินความทนทานต่อการขาดน้ำโดยยังมีความสวยงาม ด้วยการศึกษากับไม้คลุมดินการค้าจำนวน 25 ชนิด พบว่า ดัชนีที่มีประสิทธิภาพสำหรับจัดระดับความทนทานมี 3 ลักษณะ คือ ปริมาณน้ำในใบ อัตราการเปิดปากใบ และคะแนนความสวยงาม เมื่อนำตัวชี้วัดทั้งสามไปจัดระดับความทนทานต่อการขาดน้ำด้วย cluster analysis พบว่า กลุ่มไม้คลุมดินที่มีระดับความทนทานมากจะมีปริมาณน้ำในใบสูง…

การค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลกในกลุ่ม หนาวเดือนห้า (Erycibe) 3 ชนิด จากประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย

นายพงศกร โกฉัยพัฒน์ นักศึกษาระดับปริญญาเอก และ รศ.ดร. ปวีณา ไตรเพิ่ม ร่วมกับ Dr. Timothy M.A. Utteridge จากสวนพฤกษศาสตร์ Kew ประเทศอังกฤษ ร่วมกันตีพิมพ์การค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลกในกลุ่ม หนาวเดือนห้า (Erycibe) 3 ชนิด จากประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย ที่มา: https://www.facebook.com/PlantScienceMUSC/posts/3823495734354599

“ดอกดินทยา” Kaempferia jenjittikuliae Noppornch.

ที่มา: https://www.facebook.com/133101993394010/posts/3767508703286636/“ดอกดินทยา”Kaempferia jenjittikuliae Noppornch.นายณัฐพล นพพรเจริญกุล นักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับนักวิจัยจากสถาบันต่างๆ ตีพิมพ์พืชสกุลเปราะหอมชนิดใหม่ของโลกตั้งชื่อพืชชนิดนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่ ผศ.ดร. ทยา เจนจิตติกุล ผู้เชี่ยวชาญพืชสกุลเปราะหอม (Kaempferia) ในประเทศไทย“The specific epithet, jenjittikuliae, is designated in honour of Dr. Thaya Jenjittikul, a ginger…

Plantlet Regeneration and Multiple Shoot Induction from Protocorm-Like Bodies (PLBs) of Medicinal Orchid Species, Dendrobium crumenatum Sw.

รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ได้ร่วมศึกษาการขยายพันธุ์กล้วยไม้หวานตะมอย (Dendrobium crumenatum Sw.) ซึ่งเป็นกล้วยไม้ใช้ทำสมุนไพร ให้เกิดหลายยอดจากโปรโตคอร์มไลค์บอดี้ โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธา เกลาฉีด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัฒน์ ฤทธิรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จังหวัดนครศรีธรรมราช รายละเอียดตามเรื่องย่อและเรื่องเต็มที่เผยแพร่ใน Walailak Journal of Science & Technology Volumn…

CRYOPRESERVATION OF ORCHID POLLINIA USING THE V CRYO-PLATE METHOD

ที่มา: http://www.cryoletters.org/Abstracts/vol_42_1_2021.htm#025 รศ. ดร.ครรชิต ธรรมศิริ ได้ร่วมวิจัยเก็บรักษาก้อนเรณูกล้วยไม้ไทย 10 ชนิดในไนโตรเจนเหลว กับ ผศ. ดร.นิภาวรรณ์ จิตรโสภากุล มหาวิทยาลัยราชมงคลเทคโนโลยีอีสาน BACKGROUND: Preserving pollinia viability and fertility for pollination at specific times of the year is very important…

Induction of Direct Shoot Organogenesis from Shoot Tip Explants of an Ornamental Aquatic Plant, Cryptocoryne wendtii

Sutha KLAOCHEED1,*, Wanna JEHSU2, Wanwilai CHOOJUN2, Kanchit THAMMASIRI3, Somporn PRASERTSONGSKUN4 and Suphat RITTIRAT5 1Department of Technology and Industries, Faculty of Science and Technology, Prince of Songkla University, Pattani Campus, Pattani…