การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืช และพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 และ
การประชุมวิชาการระดับเยาวชนด้านพืช และพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3
The 7th Thailand Undergraduate Research Forum on Plants and Genetics (TURFPaG)
and The 3rd Thailand Junior Research Forum on Plants and Genetics (T-JuRFPaG)
รูปแบบการนำเสนอ
การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืช และพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7
และ
การประชุมวิชาการระดับเยาวชนด้านพืช และพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3
เว็บไซต์การประชุม https://plantscience.sc.mahidol.ac.th/turfpag2022/
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2565 (รูปแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom)
ลิงค์ห้องประชุม https://zoom.us/my/turfpag2022
ดาวน์โหลดไฟล์: กำหนดการประชุม
| ดาวน์โหลด: background การประชุม
เวลา |
กิจกรรม |
|
08.15-08.30 น. |
ลงทะเบียน |
|
08.30-08.45 น. |
พิธีเปิดงานประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืช และพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 และ |
|
08.45-09.00 น. |
ถ่ายภาพหมู่ |
|
09.00-10.00 น. |
การบรรยายพิเศษ “อิทธิพลของแสงเทียมต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช” |
|
10.00-11.00 น. |
การนำเสนอผลงานแบบบรรยายช่วงที่ 1 |
|
|
10.00-10.10 น. |
OG1-โครงสร้างหมู่ไม้และปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวข้องของป่าเสม็ดขาวของสวนพฤกษศาสตร์ระยอง |
|
10.10-10.20 น. |
OG2-อนุกรมวิธานของ Huperzia serrata ชนิดเชิงซ้อนในประเทศไทย |
|
10.20-10.30 น. |
OG3-สำรวจความหลากหลายของพืชในอุทยานแห่งชาติน้ำตกบัวตอง-น้ำพุเจ็ดสี จังหวัดเชียงใหม่ |
|
10.30-10.40 น. |
OG4-จุลสัณฐานวิทยาและกายวิภาคของเนื้อเยื่อผิวของกลีบดอกกล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobium spp.) |
|
10.40-10.50 น. |
OG5-การผลิตเมล็ดเทียมเพื่อการอนุรักษ์ต้นปุดเดือนโดยใช้ส่วนลำต้น |
11.00-12.00 น. |
การนำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ (Breakout Rooms) |
|
|
|
Po1-การศึกษาเปรียบเทียบกายวิภาคศาสตร์และปริมาณสารสำคัญของบัวบกที่ปลูกในระบบการปลูกพืชไร้ดิน |
|
|
Po2-กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบของรากไมคอร์ไรซาในกล้วยไม้รองเท้านารีถิ่นใต้ (Paphiopedilum spp.) สองชนิดในประเทศไทย |
|
|
Po3-การศึกษาการสืบพันธุ์ของบอนในสกุลโคโลคาเซียบางชนิดในประเทศไทย |
|
|
Po4-การปรับสภาพเส้นใยเซลลูโลสจากกาบมะพร้าวด้วยโซเดียม |
12.00-13.00 น. |
พักรับประทานอาหารกลางวัน |
|
13.00-15.00 น. |
การนำเสนอผลงานแบบบรรยายช่วงที่ 2 |
|
|
13.00-13.10 น. |
OG6-ผลของแบคทีเรีย PGPR เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของผักสลัดกรีนโอ๊ค |
|
13.10-13.20 น. |
OG7-ผลของ 6-benzylaminopurine ต่อการเพิ่มจำนวนยอดฟ้าทะลายโจรโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ |
|
13.20-13.30 น. |
OG8-การเปลี่ยนแปลงทางเซลล์พันธุศาสตร์ระหว่างกระบวนการปรับปรุงพันธุ์พืช: กรณีศึกษาในต้นบอนประดับ (Colocasia esculenta (L.) Schott) |
|
13.30-13.40 น. |
OG9-ผลของสารสกัดหยาบจากพลูและช้าพลูต่อการยับยั้งเชื้อราในโรคทุเรียน |
|
13.40-13.50 น. |
OG10-การเปลี่ยนแปลงเชิงวิวัฒนาการของโปรตีนเอฟเฟคเตอร์ของเชื้อไฟทอป-ธอร่า สาเหตุโรครากเน่าทุเรียน |
|
13.50-14.00 น. |
OG11-การศึกษาระยะเวลาการเจริญของหลอดเรณูภายในก้านเกสรเพศเมีย ที่ส่งผลต่อการติดผลของทุเรียนพันธุ์ “หมอนทอง” |
|
14.00-14.10 น. |
OJ1-ผลของไมโครพลาสติกต่อการเจริญเติบโตของไข่น้ำ (Wolffia globosa) |
|
14.10-14.20 น. |
OJ2-ประสิทธิภาพของเชื้อรา Chaetomium globosum ในการควบคุมเชื้อแบคทีเรีย Erwinia carotovora สาเหตุโรคเน่าเละในคะน้า |
|
14.20-14.30 น. |
OJ3-เปรียบเทียบประสิทธิภาพของการเจริญเติบโตของข้าวไรซ์เบอร์รี่จากนาโนซิงค์ออกไซด์ และการปลูกข้าวไรซ์เบอร์รี่จากน้ำหมักชีวภาพ |
|
14.30-14.40 น. |
OJ4-การศึกษาการเจริญเติบโตของไรโซเบียมในขึ้นฉ่าย |
15.00-15.15 น. |
พักตามอัธยาศัย |
|
15.15-16.15 น. |
การเสวนาจากรุ่นพี่สามสถาบัน “TuRFPaG Club: Three Beans’ Talk” |
|
16.15-16.45 น. |
ประกาศรางวัล และพิธีปิดงานประชุมวิชาการ |
รูปแบบการนำเสนอผลงาน
1. การนำเสนอผลงานแบบ Pitching
- สำหรับผู้ประสงค์นำเสนอแบบ Pitching ส่งวิดีโอความยาวไม่เกิน 2.5 นาที โดยนำเสนอเป็นภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ โดยถ่ายวิดีโอให้เห็นใบหน้าและท่าทางของผู้นำเสนอตลอดทั้งความยาววิดีโอ สามารถใช้สไลด์ (PowerPoint) หรือวัสดุอุปกรณ์อื่น ๆ ประกอบ เช่น พืชที่ใช้ทำวิจัย โมเดลต่าง ๆ เป็นต้น
- การคัดเลือก Pitching (27 เม.ย. 2565) ประกาศผลเพื่อรับรางวัล (popular vote/committee vote) ในวันที่ 29 เม.ย. 2565
2. การนำเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation)
นำเสนอเป็นภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ 7 นาที ตอบคำถาม 3 นาที
3. การนำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ (Poster Presentation)
ผู้นำเสนอภาคโปสเตอร์อัพโหลดไฟล์โปสเตอร์ (ขนาด 60 x 160 cm)
นำเสนอโดยสรุปเป็นภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ 2 นาที ตอบคำถาม 5-10 นาที
รางวัล (เงินรางวัล และเกียรติบัติ)
การนำเสนอแบบ Pitching
- Committee vote 1 รางวัล
การนำเสนอผลงานแบบบรรยาย (TURFPaG #7)
- จำนวน 5 รางวัล (ดีเด่น ดีมาก ดี ชมเชย 2)
การนำเสนอผลงานแบบบรรยาย (T-JuRFPaG #3)
- จำนวน 3 รางวัล (ดีเด่น ดีมาก ชมเชย 1)
การนำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ (TURFPaG #7) และ (T-JuRFPaG #3)
- จำนวน 3 รางวัล (ดีเด่น ดีมาก ชมเชย 1)
การจัดทำบทคัดย่อ
>> การจัดทำบทคัดย่อ การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านพืชและพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 และการประชุมวิชาการระดับเยาวชนด้านพืชและพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3 |
|
>> ตัวอย่างบทคัดย่อ |