Author: Dr.Saroj Ruchisansakun

Scholarship in Plant Evolution

รับสมัครนักศึกษาผู้คลั่งไคล้ใน Plant Evolutionเรียนต่อ PhD in Botany มหาวิทยาลัยมหิดลSupervisor: ผศ.ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ทุนการศึกษา-15,000 บาท/เดือน-ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการศึกษาตามจริง 120,000 บาท/ปี-ระยะเวลา 3 ปี-สมัครเรียน มิ.ย. 65 เริ่มเรียน ส.ค. 65 ผลงานที่ต้องได้Review Article (Q1)Research Article (Q1) ส่ง1. CV2. หัวข้อวิจัยที่สนใจ Review (Eng)…

ทีม COLOURGANIC ได้รับรางวัล FINALIST ในงาน IDE COMPETITION 2022

ขอแสดงความยินดีกับทีม Colourganic นวัตกรรมการย้อมผมจากต้นเทียนกิ่ง โดยทีมนำความรู้ทางด้านสมุนไพรมาผสมกับเทคโนโลยี polymer hair dye แทนการใช้สารเคมีที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ ซึ่งทีมประกอบไปด้วยน.ส. กชกร ผ่องใส นักศึกษาภาควิชาพฤกษศาสตร์ น.ส. ชรนันท์ บวรพงษ์สกุล นักศึกษาภาควิชาเคมีจากมหาวิทยาลัยมหิดล และน.ส. ปิยะมล อินทรพาณิชย์ นักศึกษาภาควิชาบัญชีจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้รับรางวัล Finalist จากการประกวดนวัตกรรม ในงาน IDE Competition 2022 ที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ในวันเสาร์ที่ 26…

ทีม GreenCover สนามหญ้ารักษ์โลก เข้าร่วมการประกวดนวัตกรรมในงาน IDE Competition 2022

ทีม GreenCover สนามหญ้ารักษ์โลก ลดการตัด/ให้น้ำ/ใส่ปุ๋ย โดยเรามีพืชหลากหลายชนิดที่จะตอบโจทย์ความต้องการที่ต่างกันของลูกค้า นอกจากจะดีต่อเราแล้วยังดีต่อระบบนิเวศน์อีกด้วย ในเรื่องของความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งทีมของเราประกอบไปด้วย น.ส.พรหมพร นุ่มเออ และน.ส.พชรวรรณ สอนโยธา นักศึกษาภาควิชาพฤกษศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล และนายพงศธร โรจนพรพันธุ์ จากวิทยาลัยผู้ประกอบการ มหาวิยาลัยหอการค้าไทย ซึ่งได้เข้าร่วมการประกวดนวัตกรรมในงาน IDE Competition 2022 ที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ในวันเสาร์ที่ 26 มีนาคม 2565ติดต่อปรึกษาทีมนี้ได้ที่ https://www.facebook.com/GreenCoverTH

อ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ได้รับทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ปี 2564

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ขอแสดงความยินดีกับ อ. ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ที่ได้รับทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ปี 2564

การขยายพันธุ์ต้นกะเพราหินปูน (Coleus albicalyx (Suddee) Suddee) พืชหายากของประเทศไทยในหลอดทดลอง

นักศึกษา นักวิทยาศาสตร์ และอาจารย์ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่อง “การขยายพันธุ์ต้นกะเพราหินปูน (Coleus albicalyx (Suddee) Suddee) พืชหายากของประเทศไทยในหลอดทดลอง” ใน วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 26 (ฉบับที่ 3) กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2564 หน้าที่ 1707 – 1725 ต้นกะเพราหินปูนเป็นพืชที่กระจายพันธุ์ในบริเวณภูเขาหินปูน โดยพบการกระจายพันธุ์ในจังหวัดกาญจนบุรี สระบุรี นครราชศรีมา ขอนแก่น…

โครงการพัฒนาไมโครอาร์เรย์ชิพสำหรับตรวจสอบความไวต่อสารก่อภูมิแพ้ในเรณูหญ้าและวัชพืชเขตร้อน

venting_Universityขอแสดงความยินดี กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิษุวัต สงนวล ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ในโอกาสที่เป็น 1 ใน 3 นักวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนในโครงการ”การพัฒนาไมโครอาร์เรย์ชิพสำหรับตรวจสอบความไวต่อสารก่อภูมิแพ้ในเรณูหญ้าและวัชพืชเขตร้อน”จากโครงการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมเครื่องมือแพทย์ (#Medical_Devices) ของไทยเพื่อความยั่งยืนและการแข่งขันในระดับนานาชาติ ภายใต้การดำเนินงานโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University System) ของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยการสนับสนุนของ สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)#Wisuwat_Songnuan#Microarray#Allergent#pollen#Tropical_weeds

การตรวจสอบทางเซลล์พันธุศาสตร์ของดอกดิน (Curcuma candida) พืชวงศ์ขิงจากประเทศไทยและพม่า

   ดอกดิน (Curcuma candida) พืชออกดอกก่อนใบในวงศ์ขิง เป็นพืชอนุรักษ์ที่อยู่ในข่ายใกล้สูญพันธุ์ หายากและเป็นพืชเฉพาะถิ่นตามแนวทิวเขาตะนาวศรี (ชายแดนไทย-พม่า) พืชชนิดนี้แรกเริ่มถูกจัดอยู่ในสกุลเปราะ (Kaempferia) ตามลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพืชตัวอย่างที่เก็บจากพม่า และมีชื่อว่า K. Candida ในปี ค.ศ. 1830 พบดอกดินครั้งแรกในประเทศไทยในปี ค.ศ. 2000 ด้วยลักษณะทางชีววิทยาโมเลกุลที่ชัดเจนจึงถูกย้ายไปอยู่ในสกุลกระเจียว (Curcuma)   การศึกษาทางเซลล์พันธุศาสตร์แสดงให้เห็นว่าพืชชนิดนี้มีความคล้ายคลึงใกล้ชิดกับพืชดิพลอยด์ในสกุลกระเจียวที่มีจานวนโครโมโซม 2n = 2x = 42 และมีการจับคู่ของโครโมโซมคู่เหมือนเป็นไบวาเลนท์ปกติ ดังนั้นในทางชีววิทยา…

คุณลักษณะแครีโอไทป์ และเซลล์พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลของดิพลอยด์ และพอลิพลอยด์ ในพืชสมุนไพรสกุล Paris จากภาคเหนือของประเทศไทย

   ตีนฮุ้งดอยเป็นพืชหายากในสกุล Paris L. ที่มีคุณค่าทางสมุนไพรสูง อยู่ในวงศ์ Melanthiaceae มีเหง้าใต้ดินที่ใช้ ยับยั้งแบคทีเรีย ลดอาการปวด บวม อักเสบ โดยเฉพาะมีสาร steroidal saponins, dioscin, polyphyllin D, and balanitin 7 ซึ่งมีฤทธิ์ต้านมะเร็งหลายชนิด แต่ตีนฮุ้งดอยเป็นพืชที่เติบโตช้ามาก และมีการนาตีนฮุ้งดอยออกจากป่ามากที่สุดเท่าที่หาได้เพื่อการค้าอย่างผิดกฏหมาย ทาให้มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ในอนาคตอันใกล้นี้ ปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาเชิงลึกทางวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย และพบข้อมูลการศึกษาทั่วโลกน้อยมาก  ผลการศึกษาได้ข้อมูลทางพันธุกรรม เพื่อใช้ในการระบุชื่อ การปรับปรุงพันธุ์…

“เปราะแมงมุม” พืชวงศ์ขิงชนิดใหม่ของไทย

ผศ.ดร.ทยา เจนจิตติกุล และ ดร.สาโรจน์ รุจิสรรค์สกุล ตีพิมพ์ “เปราะแมงมุม” Kaempferia albiflora  Jenjitt. & Ruchis. เป็นพืชชนิดใหม่ของไทย ในวารสาร Kew Bulletin 75:13DOI 10.1007/S12225-020-9868-4